ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำประสานทอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แจ้งต้องการเก็บกวาดด้วยสจห.
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
นำภาพ "น้ำประสานทองหรือบอแรกซ์.jpg" ออก ซึ่งถูกลบที่วิกิมีเดียคอมมอนส์โดย Krd เนื่องจาก No license since 22 January 2024
 
(ไม่แสดง 8 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 5 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{เก็บกวาด}}
{{chembox
{{chembox
| Verifiedfields = changed
| Watchedfields = changed
| verifiedrevid = 455055388
| Name = น้ำประสานทอง/บอแรกซ์
| Name = น้ำประสานทอง/บอแรกซ์
| OtherNames = {{ubl|Borax decahydrate|Sodium borate decahydrate|Sodium tetraborate decahydrate|Sodium tetrahydroxy tetraborate hexahydrate}}
| ImageFile = Borax crystals.jpg
| ImageFile = Borax crystals.jpg
| ImageName = Borax crystals
| ImageName = Borax crystals
| ImageSize = 244px
| ImageSize = 260px
| ImageFile1 = Borax-unit-cell-3D-balls.png
| ImageFile1 = BoraxChem.png
| ImageName1 = Ball-and-stick model of the unit cell of borax decahydrate
| ImageName1 = Ball-and-stick model of the unit cell of borax decahydrate
| ImageSize1 = 244px
| ImageSize1 = 244px
| IUPACName = disodium;3,7-dioxido-2,4,6,8,9-pentaoxa-1,3,5,7-tetraborabicyclo[3.3.1]nonane;decahydrate<ref name="NIMH.borax"/>
| IUPACName = Sodium tetraborate
| Section1 = {{chembox Identifiers
decahydrate
| CASNo = 1303-96-4
| Section2 = {{Chembox Identifiers
| ChemSpiderID_Ref = {{chemspidercite|correct|chemspider}}
| CASNo_Ref = {{cascite|correct|CAS}}
| ChEMBL = 3833375
| ChEBI = 86222
| ChemSpiderID = 17339255
| ChemSpiderID = 17339255
| EINECS = [https://echa.europa.eu/substance-information/-/substanceinfo/100.129.152 603-411-9]<ref name="NIMH.borax"/>
| UNII_Ref = {{fdacite|correct|FDA}}
| KEGG = D03243
| PubChem = 16211214
| RTECS = VZ2275000
| UNII = 91MBZ8H3QO
| UNII = 91MBZ8H3QO
| InChI = 1/B4O7.2Na.10H2O/c5-1-7-3-9-2(6)10-4(8-1)11-3;;;;;;;;;;;;/h;;;10*1H2/q-2;2*+1;;;;;;;;;;
| ChEMBL_Ref = {{ebicite|changed|EBI}}
| SMILES = [Na+].[Na+].O0B(O)O[B-]1(O)OB(O)O[B-]0(O)O1.O.O.O.O.O.O.O.O
| ChEMBL = 1076681
| ATCCode_prefix = S01
| ATCCode_suffix = AX07
| InChI = 1/B4O7.2Na.10H2O/c5-1-7-3-9-2 (6) 10-4 (8-1) 11-3;;;;;;;;;;;;/h;;;10*1H2/q-2;2*+1;;;;;;;;;;
| SMILES = [Na+].[Na+].[O-]B1OB2OB ([O-]) OB (O1) O2.O.O.O.O.O.O.O.O.O.O
| InChIKey = CDMADVZSLOHIFP-UHFFFAOYAP
| InChIKey = CDMADVZSLOHIFP-UHFFFAOYAP
| StdInChI = 1S/B4O7.2Na.10H2O/c5-1-7-3-9-2(6)10-4(8-1)11-3;;;;;;;;;;;;/h;;;10*1H2/q-2;2*+1;;;;;;;;;;
| StdInChI_Ref = {{stdinchicite|correct|chemspider}}
| StdInChI = 1S/B4O7.2Na.10H2O/c5-1-7-3-9-2 (6) 10-4 (8-1) 11-3;;;;;;;;;;;;/h;;;10*1H2/q-2;2*+1;;;;;;;;;;
| StdInChIKey_Ref = {{stdinchicite|correct|chemspider}}
| StdInChIKey = CDMADVZSLOHIFP-UHFFFAOYSA-N
| StdInChIKey = CDMADVZSLOHIFP-UHFFFAOYSA-N
}}
| CASNo_Ref = {{cascite|correct|CAS}}
| Section2 = {{Chembox Properties
| CASNo = 1303-96-4
| Formula = {{chem2|Na2B4O5(OH)4*8H2O}}
| CASNo_Comment = (decahydrate)
| Na=2|B=4|O=17|H=20
| EINECS = 215-540-4
| Appearance = ของแข็งผลึกสีขาวหรือไม่มีสี
}}
| Density = 1.73 g/cm<sup>3</sup> (decahydrate, solid)<ref name=haynes2011/>
| Section3 = {{Chembox Properties
| Solubility = 31.7 g/L <ref name=haynes2011/>
| Formula = Na<sub>2</sub>B<sub>4</sub>O<sub>7</sub>·10H<sub>2</sub>O or Na<sub>2</sub>[B<sub>4</sub>O<sub>5</sub> (OH) <sub>4</sub>]·8H<sub>2</sub>O
| MolarMass = 381.38 (decahydrate) <br />201.22 (anhydrate)
| Appearance = white solid
| Density = 1.73 g/cm<sup>3</sup> (solid)
| MeltingPtC = 743
| MeltingPtC = 743
| MeltingPt_notes = (anhydrous)<ref name=haynes2011/><br />75&nbsp;°C (decahydrate, decomposes)<ref name=haynes2011/>
| Melting_notes = anhydrate<ref>{{RubberBible86th|page=88}}</ref>
| BoilingPtC = 1575
| BoilingPtC = 1575
| BoilingPt_notes = (anhydrous)<ref name=haynes2011/>
| pKb =
| pKb =
| MagSus = −85.0·10<sup>−6</sup> cm<sup>3</sup>/mol (anhydrous)<ref name=haynes2011/>{{rp|p.4.135}}
| RefractIndex = ''n''<sub>1</sub>=1.447, ''n''<sub>2</sub>=1.469, ''n''<sub>3</sub>=1.472 (decahydrate)<ref name=haynes2011/>{{rp|p.4.139}}
}}
| Section3 = {{Chembox Structure
| Structure_ref =<ref name=levy1978/>
| CrystalStruct = [[Monoclinic]], [[Pearson symbol|mS92]], No. 15
| SpaceGroup = C2/c
| PointGroup = 2/m
| LattConst_a = 1.1885 nm
| LattConst_b = 1.0654 nm
| LattConst_c = 1.2206 nm
| UnitCellFormulas = 4
| UnitCellVolume = 1.4810 nm<sup>3</sup>
| LattConst_alpha =
| LattConst_beta = 106.623°
| LattConst_gamma =
| Coordination =
| MolShape =
| OrbitalHybridisation =
| Dipole =
}}
| Section6 = {{Chembox Pharmacology
| ATCCode_prefix = S01
| ATCCode_suffix = AX07
}}
}}
| Section7 = {{Chembox Hazards
| Section7 = {{Chembox Hazards
บรรทัด 48: บรรทัด 67:
| NFPA-F = 0
| NFPA-F = 0
| NFPA-R = 0
| NFPA-R = 0
| NFPA_ref = <ref name=NFPA2016/>
}}
| IDLH = N.D.<ref name=PGCH57/>
| REL = TWA 1 mg/m<sup>3</sup> (anhydrous and pentahydrate)<ref name=PGCH57/><ref name=PGCH59/><br /> TWA 5 mg/m<sup>3</sup> (decahydrate)<ref name=PGCH58/>
| PEL = ไม่มี<ref name=PGCH57/>
| GHSPictograms = {{GHS08}}
| HPhrases = {{H-phrases|360}}
| PPhrases = {{P-phrases|201|308+313}}
}}
<!--{{Chembox/DeltaHf298|-3276.75}}
<!--{{Chembox/DeltaHf298|-3276.75}}
{{Chembox/S298|189.53}}
{{Chembox/S298|189.53}}
-->| Section8 = {{Chembox Related
-->
| OtherAnions = [[Sodium aluminate]]
| Section8 = {{Chembox Related
| OtherCations = [[Lithium tetraborate]]
| OtherAnions = [[Sodium aluminate]]; [[sodium gallate]]
| OtherCompounds = [[Boric acid]], [[sodium perborate]]
| OtherCations = [[Potassium tetraborate]]
}}
| OtherCpds = [[Boric acid]], [[sodium perborate]]}}
}}
}}


'''น้ำประสานทอง''' หรือ '''บอแรกซ์''' เป็นสารประกอบที่สำคัญของ[[โบรอน]] ชื่อทางเคมี โซเดียมโบเรท ชื่อสามัญ น้ำประสานทอง หรือผงเนื้อกรอบ หรือเพ่งแซ เมื่อถ้าอยู่ในรูปผลึกบริสุทธิ์จะไม่มีสี ถ้านำไปเผาต่อจนไม่มีน้ำอยู่ในโมเลกุลจะเรียกน้ำประสานทองสะตุ เป็นผงมีสีขาว ละลายน้ำได้ง่าย มีรสขมเล็กน้อย
'''น้ำประสานทอง''' หรือ '''บอแรกซ์''' เป็นสารประกอบที่สำคัญของ[[โบรอน]] ชื่อทางเคมี โซเดียมโบเรท ชื่อสามัญ น้ำประสานทอง หรือผงเนื้อกรอบ หรือเพ่งแซ เมื่อถ้าอยู่ในรูปผลึกบริสุทธิ์จะไม่มีสี ถ้านำไปเผาต่อจนไม่มีน้ำอยู่ในโมเลกุลจะเรียกน้ำประสานทองสะตุ เป็นผงมีสีขาว ละลายน้ำได้ง่าย มีรสขมเล็กน้อย


== การใช้งาน ==
== การใช้งาน ==
บอแรกซ์เป็นสารสีขาวเป็นผงหรือที่เรียกว่าโซเดียมบอเรต โซเดียมเตตระบอเรตหรือไดโซเดียมเตตระบอเรต มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในฐานะน้ำยาทำความสะอาดในครัวเรือนและสารเพิ่มคุณภาพสำหรับน้ำยาซักผ้า เป็นส่วนผสมของโบรอน โซเดียม และออกซิเจน และมีการใช้ในการเชื่อมทองตามชื่อน้ำประสานทองและมีการใช้ในทางการแพทย์แผนโบราณและปัจจุปัน<ref>{{Cite journal|date=1983-12|title=6 Final Report on the Safety Assessment of Sodium Borate and Boric Acid|url=https://journals.sagepub.com/doi/10.3109/10915818309142004|journal=Journal of the American College of Toxicology|volume=2|issue=7|pages=87–125|doi=10.3109/10915818309142004|issn=0730-0913}}</ref><ref name=":0">{{Cite journal|last=Vorawut Wongumpornpinit|date=2019-03-21|title=ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางช…|url=https://www.slideshare.net/benzwongumpornpinit/handbook-in-thai-traditional-pharmacy-for-preparing-herbal-ingredient}}</ref>
บอแรกซ์เป็นสารสีขาวเป็นผงหรือที่เรียกว่าโซเดียมบอเรต โซเดียมเตตระบอเรตหรือไดโซเดียมเตตระบอเรต มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในฐานะน้ำยาทำความสะอาดในครัวเรือนและสารเพิ่มคุณภาพสำหรับน้ำยาซักผ้า เป็นส่วนผสมของโบรอน โซเดียม และออกซิเจน และมีการใช้ในการเชื่อมทองตามชื่อน้ำประสานทอง


บอแรกซ์ที่ใช้ในฐานะน้ำประสานทองจะพบได้ในธรรมชาติ มีมากในประเทศอินเดีย เนปาล ทิเบต และจีน ส่วนที่ใช้ในไทย นำเข้ามาจาก 2 แหล่ง คือ จากอินเดีย เรียก น้ำประสานทองเทศ และ จากจีน เรียก น้ำประสานทองจีน ซึ่งในการทำทองรูปพรรณจะมีการใช้คุณสมบัติของสารเคมีชนิดหนึ่งมาทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมทองคำบริสุทธิ์ให้เป็นเนื้อเดียวกัน สารเคมีตัวนั้น ก็คือ น้ำประสานทอง นั่นเอง
<u>การใช้งานและแพทย์แผนโบราณ</u><ref name=":0" />


บอแรกซ์ถูกใช้เป็นส่วนผสมในอาหารมาตั้งแต่ยุคโบราณ<ref>{{Cite web|title=Boric Acid and Borax in Food|url=https://www.cfs.gov.hk/english/multimedia/multimedia_pub/multimedia_pub_fsf_37_01.html|website=www.cfs.gov.hk}}</ref>โดยเฉพาะใช้ในการถนอมอาหาร บอแรกซ์สามารถใช้แทนเกลือแกงในกรณีที่ไม่ต้องการให้มีรสเค็ม เช่นใช้ดองไข่ปลาคาร์เวียร์เป็นต้น ชาวเอเชียบางประเทศนิยมใส่ในแป้งให้เหนียวกรุบ ใส่ในลูกชิ้นทำให้เนื้อเหนียวเด้ง ประวัติการใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารที่ยาวนานนับพันปี
"น้ำประสานทอง" เป็นเกลือรูปแบบหนึ่ง ที่พบได้ในธรรมชาติ


บอแรกซ์จะมีลักษณะเป็นผลึกใสหรือเป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น รสหวาน ถ้านำไปผ่านความร้อนแบบรวดเร็วที่อุณหภูมิประมาณ 75 องศาเซลเซียสจะละลายกลายเป็นน้ำ แต่ถ้าเผาที่ความร้อน 350 องศาเซลเซียสจะไม่มีน้ำอยู่ในโมเลกุล เรียกว่า "น้ำประสานทองสะตุ" การนำน้ำประสานทองไปสะตุในอุณหภูมิที่สูงโดยตั้งเตาด้วยแกลบ จุดไฟและเผาผ่านหม้อดิน หรือการก่อไฟด้วยแกลบ จะให้ความร้อนที่อุณหภูมิสูงมาก แต่หากสะดวกจะใช้ถ่าน หรือเชื้อเพลิงชนิดอื่นๆ ก็สามารถใช้ได้
มีมากในประเทศอินเดีย เนปาล ทิเบต และจีน


ส่วนที่ใช้ในไทย นำเข้ามาจาก 2 แหล่ง คือ จากอินเดีย เรียก น้ำประสานทองเทศ

และ จากจีน เรียก น้ำประสานทองจีน

ซึ่งในการทำทองรูปพรรณ

จะมีการใช้คุณสมบัติของสารเคมีชนิดหนึ่ง

มาทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมทองคำบริสุทธิ์ให้เป็นเนื้อเดียวกัน

สารเคมีตัวนั้น ก็คือ น้ำประสานทอง นั่นเอง

<u>ผงผลึกสีขาวใส ทำไมเรียก "น้ำ"</u><ref>{{Cite web|title=[อัฏฐเวชคลินิกการแพทย์แผนไทย] #น้ำประสานทอง|url=https://www.blockdit.com/posts/5d9ed163ca4b5704c411d7e9|website=www.blockdit.com}}</ref>

น้ำประสานทอง มีลักษณะเป็นผลึกใสหรือเป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น รสหวาน

ถ้านำไปผ่านความร้อนแบบรวดเร็วที่อุณหภูมิประมาณ 75 องศาเซลเซียส

จะละลายกลายเป็นน้ำ

แต่ถ้าเผาที่ความร้อน 350 องศาเซลเซียส

จะไม่มีน้ำอยู่ในโมเลกุล เรียกว่า "น้ำประสานทองสะตุ"

การนำน้ำประสานทองไปสะตุในอุณหภูมิที่สูง

โดยตั้งเตาด้วยแกลบ จุดไฟ และเผาผ่านหม้อดิน

การก่อไฟด้วยแกลบ จะให้ความร้อนที่อุณหภูมิสูงมาก

แต่หากสะดวกจะใช้ถ่าน หรือเชื้อเพลิงชนิดอื่นๆ ก็สามารถใข้ได้

สรรพคุณทางยา

น้ำประสานทองใช้ภายนอก จะช่วยแก้ร้อนใน ถอนพิษ กันบูด บำบัดแผลในช่องปากและลิ้น เจ็บคอ หูมีน้ำหนอง

กลากเกลื้อนตามมือ รากฟันอักเสบ ปากมดลูกเป็นแผลเน่า ช่องคลอดอักเสบ โดยสามารถใช้ร่วมกับพิมเสนได้

น้ำประสานทองใช้กิน จะช่วยแก้ร้อนใน ละลายเสมหะ บำบัดอาการไอ ไอร้อยวัน<ref>{{Cite web|title=น้ำประสานทอง|url=http://www.doohealthy.com/article/healthy/food/550-health.html|website=www.doohealthy.com}}</ref>

น้ำประสานทองเทศ

รสเย็น ขับเสมหะ แก้ไอ แก้ริดสีดวงจมูก ริดสีดวงที่เกิดในลำคอ แก้ไข้ผอมเหลือง แก้ริดสีดวงทวาร

แก้ฟกบวมแก้หืด

น้ำประสานทองสะตุ

(ได้จากการนำน้ำประสานทองเทศมาสะตุ)

รสปร่าชา แก้ละอองซาง ลอกลิ้นเด็ก กัดเม็ดยอดในปากคอ กัดเม็ดฝี
บอแรกซ์ถูกใช้เป็นส่วนผสมในอาหารมาตั้งแต่ยุคโบราณ <ref>{{Cite web|title=Boric Acid and Borax in Food|url=https://www.cfs.gov.hk/english/multimedia/multimedia_pub/multimedia_pub_fsf_37_01.html|website=www.cfs.gov.hk}}</ref>โดยเฉพาะใช้ในการถนอมอาหาร บอแรกซ์สามารถใช้แทนเกลือแกงในกรณีที่ไม่ต้องการให้มีรสเค็ม เช่นใช้ดองไข่ปลาคาร์เวียร์เป็นต้น ชาวเอเชียบางประเทศนิยมใส่ในแป้งให้เหนียวกรุบ ใส่ในลูกชิ้นทำให้เนื้อเหนียวเด้ง ประวัติการใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารที่ยาวนานนับพันปี



[[ไฟล์:น้ำประสานทองหรือบอแรกซ์.jpg|alt=การสะตุคือการทำให้ตัวยามีฤทธิ์อ่อนลงหรือทำให้พิษของตัวยาน้อยลงหรือทำให้ตัวยานั้นสะอาดขึ้น|thumb|[https://www.samunpri.com/pharmacy/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B8/ 'น้ำประสานทอง'กำลังผ่านขั้นตอนสะตุ]]]

== การใช้ารบอแรกซ์ในครัวเรือน ==
สารบอแรกซ์มีประโยชน์หลายอย่างในตัวมันเอง แถมยังเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อื่นๆ ด้วย ต่อไปนี้คือการใช้ผงบอแรกซ์และบอแรกซ์บริสุทธิ์ในน้ำ


== การใช้สารบอแรกซ์ในครัวเรือน ==
สารบอแรกซ์มีประโยชน์หลายอย่างในตัวมันเอง แถมยังเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อื่นๆ ด้วย ต่อไปนี้คือการใช้ผงบอแรกซ์และบอแรกซ์บริสุทธิ์ในน้ำ
* ยาฆ่าแมลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงสาบและป้องกันมอด (สารละลาย 10 เปอร์เซ็นต์สำหรับผ้าขนสัตว์)
* ยาฆ่าแมลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงสาบและป้องกันมอด (สารละลาย 10 เปอร์เซ็นต์สำหรับผ้าขนสัตว์)
* ยาฆ่าเชื้อรา
* ยาฆ่าเชื้อรา
บรรทัด 151: บรรทัด 120:


* เชื่อมทองคำ
* เชื่อมทองคำ
** เชื่อมทองคำ


== ความเป็นพิษ ==
ความเป็นพิษ (toxicity) บอแรกซ์ไม่มีความเป็นพิษต่อมนุษย์โดยตรง เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะมีผลต่อร่างกายคล้ายการได้รับเกลือแกง (NaCl) โดยร่างกายสามารถใช้ประโยชน์จากโซเดียมในบอแรกซ์ได้เช่นเดียวกับเกลือแกง
การได้รับบอแรกซ์ต่อเนื่องอาจก่อการระคายเคืองในระบบทางเดินหายใจ การทานบอแรกซ์อาจก่ออาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น [[อาเจียน]], ปวดท้อง และ [[ท้องเสีย]] ผลกระทบต่อระบบหลอดเลือดและ[[สมอง]]ได้แก่อาการปวดศีรษะและความเฉื่อยชา ในกรณีที่รุนแรงอาจพบผื่นแดงได้<ref>{{cite book|last1=Reigart|first1=J. Routt|url=https://books.google.com/books?id=cVvUZ8wXPFsC&pg=PA76|title=Recognition and Management of Pesticide Poisonings (5th Ed. )|date=2009|publisher=DIANE Publishing|isbn=978-1-4379-1452-8|page=76|language=en|accessdate=4 June 2020}}</ref> ข้อมูลจากศูนย์คุ้มครองผู้บริโภคอินโดนีเซีย (Indonesian Directorate of Consumer Protection) ระบุเตือนว่าบอแรกซ์อาจก่อ[[มะเร็งตับ]]ได้หากมีการรับประทานบอแรกซ์ต่อเนื่องยาวนาน 5–10 ปี<ref name="IndonesiaDCP" />


== อ้างอิง ==
สารบอแรกซ์ในรูปแบบปกติของโซเดียม เตตระบอเรต ดีคาไฮเดรตไม่มีพิษรุนแรง ซึ่งหมายความว่าจำเป็นต้องสูดดมหรือกินเข้าไปในปริมาณมากเพื่อสร้างผลกระทบต่อสุขภาพ ยาฆ่าแมลงเป็นหนึ่งในสารเคมีที่ปลอดภัยที่สุดที่มีอยู่ การประเมินสารเคมีในปี 2549 โดย EPA ของสหรัฐอเมริกา ไม่พบสัญญาณของความเป็นพิษจากการสัมผัสและไม่มีหลักฐานของความเป็นพิษต่อเซลล์ในมนุษย์ ข้อมูลจากผลการศึกษาหนึ่งระบุว่า บอแรกซ์หรือ sodium tetraborate decahydrate ไม่มีผลพิษฉับพลัน (acutely toxic) ค่า LD50 (ขนานอันตรายถึงชีวิตโดยเฉลี่ย; median lethal dose) ของบอแรกซ์อยู่ที่ 2.66 กรัม/กิโลกรัม จากข้อมูลการทดลองในหนู การกินบอแรกซ์ในปริมาณมากอาจทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน และท้องร่วง ต้องใช้ในปริมาณที่เหมาะสม<ref>Helmenstine, แอนน์ มารี, Ph.D. "สารบอแรกซ์คืออะไรและใช้อย่างไร" ThoughtCo, 7 กันยายน 2021, thoughtco.com/what-is-borax-where-to-get-608509</ref>
{{รายการอ้างอิง|refs=
บอแรกซ์มีการใช้ในยาฆ่าแมลงในสหรัฐภายใต้การควบคุมมาตั้งแต่ปี 1946 กระทั่งในปี 1986 ได้มีการยกเลิกการควบคุมเนื่องจากภาวะพิษที่ไม่สูงของบอแรกซ์ ในรายงานของ EPA สองฉบับ<ref name="epa factsheet">{{cite web |url=https://archive.epa.gov/pesticides/reregistration/web/pdf/0024fact.pdf |title=Pesticide Reregistration Status &#124; Pesticides &#124; US EPA |website=Epa.gov |date= |accessdate=August 7, 2016}}</ref><ref name="borax cleared">{{cite web |url=http://www3.epa.gov/pesticides/chem_search/cleared_reviews/csr_PC-011103_25-Apr-93_002.pdf |title=Pesticides &#124; US EPA |website=Epa.gov |date=August 20, 2015 |accessdate=August 7, 2016}}</ref>
<ref name="NIMH.borax">{{Cite web|last=PubChem|title=Borax|url=https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/compound/16211214|access-date=2021-12-27|website=pubchem.ncbi.nlm.nih.gov|language=en}}</ref>
<ref name=haynes2011>{{cite book | editor= Haynes, William M. | year = 2011 | title = CRC Handbook of Chemistry and Physics | edition = 92nd | publisher = [[CRC Press]] | isbn = 978-1439855119| title-link = CRC Handbook of Chemistry and Physics }}</ref>
<ref name=levy1978>{{cite journal|doi=10.1107/S0567740878011504|title=Crystal structures of sodium sulfate decahydrate (Glauber's salt) and sodium tetraborate decahydrate (borax). Redetermination by neutron diffraction|journal=Acta Crystallographica Section B|volume=34|issue=12|pages=3502–3510|year=1978|last1=Levy|first1=H. A.|last2=Lisensky|first2=G. C.|bibcode=1978AcCrB..34.3502L |doi-access=}}</ref>
<ref name=PGCH57>{{PGCH|0057}}</ref>
<ref name=PGCH58>{{PGCH|0058}}</ref>
<ref name=PGCH59>{{PGCH|0059}}</ref>
<ref name=NFPA2016>{{cite web|url=http://tlsoakland.com/pdf/12.pdf|title=Potential Commodities NFPA 704|access-date=December 9, 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20160517223018/http://tlsoakland.com/pdf/12.pdf|archive-date=May 17, 2016|url-status=dead}}</ref>
<ref name=IndonesiaDCP>{{cite web|url=http://pkditjenpdn.depdag.go.id/English/index.php?page=infodtl&InfoID=8&dtl=1 |title=Watch Out For The Food We Consume |year=2006 |publisher=Directorate of Consumer Protection, Jakarta, Indonesia |accessdate=February 10, 2009 |url-status=dead |archiveurl=https://web.archive.org/web/20081228204459/http://pkditjenpdn.depdag.go.id/English/index.php?page=infodtl&InfoID=8&dtl=1 |archivedate=December 28, 2008 }}</ref>
}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
การได้รับบอแรกซ์ต่อเนื่องอาจก่อการระคายเคืองในระบบทางเดินหายใจ การทานบอแรกซ์อาจก่ออาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น [[อาเจียน]], ปวดท้อง และ [[ท้องเสีย]] ผลกระทบต่อระบบหลอดเลือดและ[[สมอง]]ได้แก่อาการปวดศีรษะและความเฉื่อยชา ในกรณีที่รุนแรงอาจพบผื่นแดงได้<ref>{{cite book |last1=Reigart |first1=J. Routt |title=Recognition and Management of Pesticide Poisonings (5th Ed. ) |date=2009 |publisher=DIANE Publishing |isbn=978-1-4379-1452-8 |page=76 |url=https://books.google.com/books?id=cVvUZ8wXPFsC&pg=PA76 |accessdate=4 June 2020 |language=en}}</ref>
{{Commons category|Borax}}


* {{ICSC|0567}}
ข้อมูลจากศูนย์คุ้มครองผู้บริโภคอินโดนีเซีย (Indonesian Directorate of Consumer Protection) ระบุเตือนว่าบอแรกซ์อาจก่อ[[มะเร็งตับ]]ได้หากมีการรับประทานบอแรกซ์ต่อเนื่องยาวนาน 5–10 ปี<ref name=IndonesiaDCP/>
* {{ICSC|1229}} (fused borax)
* [https://web.archive.org/web/20060209040519/http://www.npi.gov.au/database/substance-info/profiles/15.html National Pollutant Inventory&nbsp;– Boron and compounds]
* [https://www.cdc.gov/niosh/npg/npgd0058.html NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards]
* [https://web.archive.org/web/20020821230321/http://www.sefsc.noaa.gov/HTMLdocs/SodiumBorate.htm Sodium Borate in sefsc.noaa.gov]

{{Authority control}}


== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
[[หมวดหมู่:สารประกอบโบรอน]]
[[หมวดหมู่:สารประกอบโบรอน]]
[[หมวดหมู่:สารประกอบโซเดียม]]
[[หมวดหมู่:สารประกอบโซเดียม]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:59, 30 มกราคม 2567

น้ำประสานทอง/บอแรกซ์
Borax crystals
Ball-and-stick model of the unit cell of borax decahydrate
ชื่อ
IUPAC name
disodium;3,7-dioxido-2,4,6,8,9-pentaoxa-1,3,5,7-tetraborabicyclo[3.3.1]nonane;decahydrate[1]
ชื่ออื่น
  • Borax decahydrate
  • Sodium borate decahydrate
  • Sodium tetraborate decahydrate
  • Sodium tetrahydroxy tetraborate hexahydrate
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
EC Number
เลขอี E285 (preservatives)
KEGG
RTECS number
  • VZ2275000
UNII
  • InChI=1S/B4O7.2Na.10H2O/c5-1-7-3-9-2(6)10-4(8-1)11-3;;;;;;;;;;;;/h;;;10*1H2/q-2;2*+1;;;;;;;;;;
    Key: CDMADVZSLOHIFP-UHFFFAOYSA-N
  • InChI=1/B4O7.2Na.10H2O/c5-1-7-3-9-2(6)10-4(8-1)11-3;;;;;;;;;;;;/h;;;10*1H2/q-2;2*+1;;;;;;;;;;
    Key: CDMADVZSLOHIFP-UHFFFAOYAP
  • [Na+].[Na+].O0B(O)O[B-]1(O)OB(O)O[B-]0(O)O1.O.O.O.O.O.O.O.O
คุณสมบัติ
Na2B4O5(OH)4·8H2O
มวลโมเลกุล 381.36 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ของแข็งผลึกสีขาวหรือไม่มีสี
ความหนาแน่น 1.73 g/cm3 (decahydrate, solid)[2]
จุดหลอมเหลว 743 องศาเซลเซียส (1,369 องศาฟาเรนไฮต์; 1,016 เคลวิน) (anhydrous)[2]
75 °C (decahydrate, decomposes)[2]
จุดเดือด 1,575 องศาเซลเซียส (2,867 องศาฟาเรนไฮต์; 1,848 เคลวิน) (anhydrous)[2]
31.7 g/L [2]
−85.0·10−6 cm3/mol (anhydrous)[2]: p.4.135 
n1=1.447, n2=1.469, n3=1.472 (decahydrate)[2]: p.4.139 
โครงสร้าง[3]
Monoclinic, mS92, No. 15
C2/c
2/m
a = 1.1885 nm, b = 1.0654 nm, c = 1.2206 nm
α = 90°, β = 106.623°°, γ = 90°
1.4810 nm3
4
เภสัชวิทยา
S01AX07 (WHO)
ความอันตราย
GHS labelling:
The health hazard pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
H360
P201, P308+P313
NFPA 704 (fire diamond)
NIOSH (US health exposure limits):
PEL (Permissible)
ไม่มี[4]
REL (Recommended)
TWA 1 mg/m3 (anhydrous and pentahydrate)[4][5]
TWA 5 mg/m3 (decahydrate)[6]
IDLH (Immediate danger)
N.D.[4]
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
Sodium aluminate
แคทไอออนอื่น ๆ
Lithium tetraborate
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
Boric acid, sodium perborate
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

น้ำประสานทอง หรือ บอแรกซ์ เป็นสารประกอบที่สำคัญของโบรอน ชื่อทางเคมี โซเดียมโบเรท ชื่อสามัญ น้ำประสานทอง หรือผงเนื้อกรอบ หรือเพ่งแซ เมื่อถ้าอยู่ในรูปผลึกบริสุทธิ์จะไม่มีสี ถ้านำไปเผาต่อจนไม่มีน้ำอยู่ในโมเลกุลจะเรียกน้ำประสานทองสะตุ เป็นผงมีสีขาว ละลายน้ำได้ง่าย มีรสขมเล็กน้อย

การใช้งาน

[แก้]

บอแรกซ์เป็นสารสีขาวเป็นผงหรือที่เรียกว่าโซเดียมบอเรต โซเดียมเตตระบอเรตหรือไดโซเดียมเตตระบอเรต มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในฐานะน้ำยาทำความสะอาดในครัวเรือนและสารเพิ่มคุณภาพสำหรับน้ำยาซักผ้า เป็นส่วนผสมของโบรอน โซเดียม และออกซิเจน และมีการใช้ในการเชื่อมทองตามชื่อน้ำประสานทอง

บอแรกซ์ที่ใช้ในฐานะน้ำประสานทองจะพบได้ในธรรมชาติ มีมากในประเทศอินเดีย เนปาล ทิเบต และจีน ส่วนที่ใช้ในไทย นำเข้ามาจาก 2 แหล่ง คือ จากอินเดีย เรียก น้ำประสานทองเทศ และ จากจีน เรียก น้ำประสานทองจีน ซึ่งในการทำทองรูปพรรณจะมีการใช้คุณสมบัติของสารเคมีชนิดหนึ่งมาทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมทองคำบริสุทธิ์ให้เป็นเนื้อเดียวกัน สารเคมีตัวนั้น ก็คือ น้ำประสานทอง นั่นเอง

บอแรกซ์ถูกใช้เป็นส่วนผสมในอาหารมาตั้งแต่ยุคโบราณ[8]โดยเฉพาะใช้ในการถนอมอาหาร บอแรกซ์สามารถใช้แทนเกลือแกงในกรณีที่ไม่ต้องการให้มีรสเค็ม เช่นใช้ดองไข่ปลาคาร์เวียร์เป็นต้น ชาวเอเชียบางประเทศนิยมใส่ในแป้งให้เหนียวกรุบ ใส่ในลูกชิ้นทำให้เนื้อเหนียวเด้ง ประวัติการใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารที่ยาวนานนับพันปี

บอแรกซ์จะมีลักษณะเป็นผลึกใสหรือเป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น รสหวาน ถ้านำไปผ่านความร้อนแบบรวดเร็วที่อุณหภูมิประมาณ 75 องศาเซลเซียสจะละลายกลายเป็นน้ำ แต่ถ้าเผาที่ความร้อน 350 องศาเซลเซียสจะไม่มีน้ำอยู่ในโมเลกุล เรียกว่า "น้ำประสานทองสะตุ" การนำน้ำประสานทองไปสะตุในอุณหภูมิที่สูงโดยตั้งเตาด้วยแกลบ จุดไฟและเผาผ่านหม้อดิน หรือการก่อไฟด้วยแกลบ จะให้ความร้อนที่อุณหภูมิสูงมาก แต่หากสะดวกจะใช้ถ่าน หรือเชื้อเพลิงชนิดอื่นๆ ก็สามารถใช้ได้


การใช้สารบอแรกซ์ในครัวเรือน

[แก้]

สารบอแรกซ์มีประโยชน์หลายอย่างในตัวมันเอง แถมยังเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อื่นๆ ด้วย ต่อไปนี้คือการใช้ผงบอแรกซ์และบอแรกซ์บริสุทธิ์ในน้ำ

  • ยาฆ่าแมลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผลิตภัณฑ์กำจัดแมลงสาบและป้องกันมอด (สารละลาย 10 เปอร์เซ็นต์สำหรับผ้าขนสัตว์)
  • ยาฆ่าเชื้อรา
  • สารกำจัดวัชพืช
  • สารดูดความชื้น
  • น้ำยาซักผ้า
  • น้ำยาทำความสะอาดในครัวเรือน
  • น้ำยาปรับสภาพน้ำ
  • วัตถุเจือปนอาหารเป็นสารกันบูด (ห้ามในบางประเทศ)

บอแรกซ์เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อื่นๆ อีกหลายอย่าง ได้แก่:

  • บัฟเฟอร์โซลูชั่น
  • สารหน่วงไฟ
  • ผลิตภัณฑ์ฟอกสีฟัน
  • แก้ว เซรามิก และเครื่องปั้นดินเผา
  • เคลือบอีนาเมล
  • สารตั้งต้นของกรดบอริก
  • โครงงานวิทยาศาสตร์ เช่น ไฟสีเขียวเมือกและผลึกบอแรกซ์
  • เคมีวิเคราะห์  บอแรกซ์บีดทดสอบ
  • ฟลักซ์สำหรับเชื่อมเหล็กและเหล็กกล้า
  • เชื่อมทองคำ

ความเป็นพิษ

[แก้]

การได้รับบอแรกซ์ต่อเนื่องอาจก่อการระคายเคืองในระบบทางเดินหายใจ การทานบอแรกซ์อาจก่ออาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน, ปวดท้อง และ ท้องเสีย ผลกระทบต่อระบบหลอดเลือดและสมองได้แก่อาการปวดศีรษะและความเฉื่อยชา ในกรณีที่รุนแรงอาจพบผื่นแดงได้[9] ข้อมูลจากศูนย์คุ้มครองผู้บริโภคอินโดนีเซีย (Indonesian Directorate of Consumer Protection) ระบุเตือนว่าบอแรกซ์อาจก่อมะเร็งตับได้หากมีการรับประทานบอแรกซ์ต่อเนื่องยาวนาน 5–10 ปี[10]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 PubChem. "Borax". pubchem.ncbi.nlm.nih.gov (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-12-27.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 Haynes, William M., บ.ก. (2011). CRC Handbook of Chemistry and Physics (92nd ed.). CRC Press. ISBN 978-1439855119.
  3. Levy, H. A.; Lisensky, G. C. (1978). "Crystal structures of sodium sulfate decahydrate (Glauber's salt) and sodium tetraborate decahydrate (borax). Redetermination by neutron diffraction". Acta Crystallographica Section B. 34 (12): 3502–3510. Bibcode:1978AcCrB..34.3502L. doi:10.1107/S0567740878011504.
  4. 4.0 4.1 4.2 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0057". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  5. NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0059". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  6. NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0058". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  7. "Potential Commodities NFPA 704" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ May 17, 2016. สืบค้นเมื่อ December 9, 2018.
  8. "Boric Acid and Borax in Food". www.cfs.gov.hk.
  9. Reigart, J. Routt (2009). Recognition and Management of Pesticide Poisonings (5th Ed. ) (ภาษาอังกฤษ). DIANE Publishing. p. 76. ISBN 978-1-4379-1452-8. สืบค้นเมื่อ 4 June 2020.
  10. "Watch Out For The Food We Consume". Directorate of Consumer Protection, Jakarta, Indonesia. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 28, 2008. สืบค้นเมื่อ February 10, 2009.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]