ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลและสุสานบังทอง"

พิกัด: 31°17′24.3″N 104°28′6.2″E / 31.290083°N 104.468389°E / 31.290083; 104.468389
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
วรุฒ หิ่มสาใจ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
(ไม่แสดง 17 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 6 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{coord|31|17|24.3|N|104|28|6.2|E|display=title}}
[[ไฟล์:Pang Tong ambush.jpg|thumb|250px|บังทอง ถูกเกาทัณฑ์รุมยิงที่เนินหงส์ร่วง ใน[[สามก๊กฉบับละครโทรทัศน์]]ของ[[จีนแผ่นดินใหญ่]] ([[พ.ศ. 2538]])]]
{{Chinese
|pic=庞统祠墓照片.JPG
|t=龐統祠墓
|s=庞统祠墓
|p=Páng Tǒng Cí Mù
|altname=ศาลมังกรและหงส์
|t2=龍鳳祠
|s2=龙凤祠
|p2=Lóng Fèng Cí
|altname3=ลกห้องโห (เนินหงส์ร่วง)
|t3=落鳳坡
|s3=落凤坡
|p3=Luò Fèng Pō}}


'''ศาลและสุสานบังทอง''' หรือชื่ออื่น ๆ ว่า '''ศาลมังกรและหงส์''' และ '''เนินหงส์ร่วง''' เป็นศาลและสุสานที่ตั้งอยู่ในเมืองไป๋หม่ากวัน (白馬關鎮) [[เขตหลัวเจียง]] นคร[[เต๋อหยาง]] [[มณฑลเสฉวน]] ประเทศจีน<ref>{{cite web|title=Deyang (Sichuan) City Information|url=http://www.chinaknowledge.com/CityInfo/City.aspx?Region=Western&City=Deyang|website=China Knowledge|accessdate=1 January 2015}}</ref> ศาลเจ้าและสุสานสร้างเพื่ออุทิศแก่[[บังทอง]] (ค.ศ. 179–214) ที่ปรึกษาของ[[เล่าปี่]] จักรพรรดิผู้ก่อตั้งรัฐ[[จ๊กก๊ก]]ใน[[ยุคสามก๊ก]] ในวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 2006 ศาลและสุสานกลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[สถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่ได้รับความคุ้มครองในระดับชาติ]]ชุดที่หก<ref name="zhjmg.com">{{cite web|author1=昭化古城001 [Zhaohua Gucheng 001]|title=庞统祠墓 [Pang Tong Shrine and Tomb]|url=http://www.zhjmg.com/portal.php?mod=view&aid=191|website=zhjmg.com|accessdate=1 January 2015|language=zh|date=4 June 2014|url-status=dead|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150101142825/http://www.zhjmg.com/portal.php?mod=view&aid=191|archivedate=1 January 2015}}</ref>
'''เนินหงส์ร่วง''' ({{lang-en|Valley of the Fallen Phoenix}}; {{Zh-all|t=落鳳坡|p=Luòfèngpō}}) เป็นชื่อสถานที่ที่[[บังทอง]] เสนาธิการกองทัพของ[[เล่าปี่]]ถูกซุ่มยิงด้วย[[ลูกศร|เกาทัณฑ์]]มากมายจนเสียชีวิต เป็นช่องเขาที่แยกเข้าเมืองลกเสีย เมืองหน้าด่านของ[[เสฉวน|มณฑลเสฉวน]] ใน[[สามก๊ก]]ฉบับ[[เจ้าพระยาพระคลัง (หน)]] เรียก "ลกห้องโห"


== ภูมิหลัง ==
== เหตุการณ์ ==
[[บังทอง]]เป็นชาวเมือง[[เซียงหยาง|ซงหยง]] (襄陽郡 ''เซียงหยางจวิ้น''; ปัจจุบันคือนคร[[เซียงหยาง]] [[มณฑลหูเป่ย์]]) เริ่มรับราชการเป็นเจ้าหน้าที่ในเมือง[[ลำกุ๋น]] (南郡 ''หนานจวิ้น''; ปัจจุบันอยู่บริเวณนคร[[จิงโจว]] มณฑลหูเป่ย์) ก่อนมาเป็นที่ปรึกษาของขุนศึก[[เล่าปี่]]ในปี ค.ศ. 209 ครั้นเมื่อราวปี ค.ศ. 210 ได้ติดตามเล่าปี่เข้าร่วมใน[[การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่|การศึก]]เพื่อเข้ายึดมณฑล[[เอ๊กจิ๋ว]] (มีพื้นที่ครอบคุลมมณฑล[[เสฉวน]]และนคร[[ฉงชิ่ง]]ในปัจจุบัน) จากขุนศึก[[เล่าเจี้ยง]] บังทองเสียชีวิตเพราะถูกยิงด้วยเกาทัณฑ์ในศึกที่อำเภอลกเสีย (雒縣 ''ลั่วเซี่ยน''; ปัจจุบันอยู่ทางเหนือของนคร[[กวั่งฮั่น]] มณฑลเสฉวน) ในปี ค.ศ. 214<ref>''จดหมายเหตุสามก๊ก'' เล่มที่ 37.</ref>


การเสียชีวิตของบังทองได้มีการเสริมเติมดัดแปลงในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 14 เรื่อง''[[สามก๊ก]]'' ในนิยาย [[เตียวหยิม]]ขุนพลของเล่าเจี้ยงจัดให้มีกองซุ่มอยู่นอกอำเภอลกเสีย ด้านเล่าปี่มอบม้าของตนคือ[[เต๊กเลา]]ให้บังทองขี่ก่อนเริ่มศึก บังทองนำกองทหารเข้าโจมตีอำเภอลกเสียและผ่านไปยังพื้นที่ที่มีการดักซุ่ม เตียวหยิมเห็นม้าเต๊กเลาก็เข้าใจว่าผู้ขี่คือเล่าปี่ สั่งให้ทหารยิงเกาทัณฑ์ใส่ผู้ขี่ บังทองถูกเกาทัณฑ์หลายดอกและเสียชีวิต ณ ที่นั้น สถานที่ที่บัวทองเสียชีวิตนั้นเรียกว่า "ลกห้องโห" (''ลั่วเฟิ่งพัว'') หรือ "เนินหงส์ร่วง"<ref>''สามก๊ก'' ตอนที่ 63.</ref><ref>{{cite web|title=สามก๊ก ตอนที่ ๕๑|url=https://vajirayana.org/สามก๊ก/ตอนที่-๕๑|website=วัชรญาณ|access-date=May 27, 2023}}</ref>
เมื่อเล่าปี่ตัดสินใจเด็ดขาดแล้วว่าจะยกทัพเข้าสู่เสฉวนของเล่าเจี้ยง หลังจากลังเลอยู่นานได้ปรึกษากับ[[หวดเจ้ง]] ที่ปรึกษาของเล่าเจี้ยงที่มาอยู่ฝ่ายเล่าปี่แล้ว พบว่าทางเข้าสู่เมืองลกเสียนั้นมีอยู่ 2 ทาง ทางแรกเป็นทางกว้างขวางเดินทัพสะดวก อีกทางเป็นทางคับแคบเพราะเป็นช่องเขา ที่แม้แต่ชาวเสฉวนเองก็ยังไม่ค่อยรู้จักเสียด้วยซ้ำ บังทองร้อนใจอยากเข้าสู่เมืองเผด็จศึกโดยเร็วจึงขออาสานำทัพไปตามทางเล็ก แต่เล่าปี่ได้ห้ามปรามและยกจดหมายของ[[ขงเบ้ง]]ที่ส่งมาก่อนหน้านั้นว่าได้ตรวจดู[[ดาว]]แล้วพบว่าจะมีแม่ทัพคนหนึ่งสิ้นชีวิตลง แต่บังทองแย้งว่าขงเบ้งอยู่ที่เกงจิ๋วจะทราบสถานการณ์ที่นี่ได้อย่างไร และยืนยันว่าตนจะขอไปตามทางเล็กเอง แม้จะมีทหารซุ่มอยู่ก็ตาม แต่ว่าเวลานี้ตรงกับเทศกาลวันที่ 7 เดือน 7 ที่ทางภาคใต้จะฉลองเป็นเทศกาลใหญ่ ทางราชการเองก็หยุดเชื่อว่าการระวังป้องกันคงจะไม่เข้มแข็งนัก


== ประวัติของสุสานและศาล ==
ทางฝ่าย[[เตียวหยิม]] แม่ทัพของเล่าเจี้ยงซึ่งไม่ไว้ใจเล่าปี่อยู่ก่อนแล้วได้ไปขอคำทำนายจากจีโฮโต้หยิน ผู้วิเศษแห่งเขาลำปินสาน และมีคำทำนายเป็นคำโคลงบอกนัยว่า ''"หงส์และมังกรจะเข้าสู่เสฉวน หงส์ถึงแม้มีปีกแต่ก็บินไม่ได้ ต้องปีกหักตกดินไป มังกรแม้ไม่มีปีกแต่เข้าสู่เสฉวนได้อย่างสง่างาม"'' แต่เตียวหยิมไม่ใส่ใจ คิดว่าเป็นคำไร้สาระ
[[เล่าปี่]]ให้สร้างสุสานและศาลของบังทองในปี ค.ศ. 214 หลังการเสียชีวิตของบังทอง มีอีกชื่อเรียกว่า "วัดไป๋หม่า" (白馬寺; แปลว่า "วัดม้าขาว") เพราะตั้งอยู่ในเมืองไป๋หม่ากวัน (白馬關鎮; แปลว่า "เมืองประตูม้าขาว") และยังมีชื่อเรียกอื่นว่า "ศาลมังกรและหงส์" เพราะมีรูปปั้นของบังทองและ[[จูกัดเหลียง]]อยู่ข้างใน บังทองและจูกัดเหลียงมีฉายานามว่า "หงส์อ่อน" (ฮองซู) และ "มังกรหลับ" (ฮกหลง) ตามลำดับ และทั้งคู่เป็นที่ปรึกษาของเล่าปี่<ref name="zhjmg.com" />


ศาลและสุสานผุพังไปตามกาลเวลาแต่ได้รับการบูรณะในปี ค.ศ. 1691 ในรัชสมัยของ[[จักรพรรดิคังซี]]แห่ง[[ราชวงศ์ชิง]] ในปัจจุบัน ศาลมีประตูใหญ่ โถงกลาง โถงข้างสองแห่ง และศาลา โดยสุสานตั้งอยู่ข้าง ๆ มีต้นสนขนาดใหญ่สองต้นภายในศาลซึ่งกล่าวกันว่าปลูกโดย[[เตียวหุย]] ขุนพลของเล่าปี่ มี[[กลอนคู่]]คู่หนึ่งอยู่ที่ประตูความว่า "แม้ว่าเป็นที่แน่ชัดว่าจักรพรรดิองค์ก่อน (เล่าปี่) ทรงโปรดหงส์ที่ร่วงหล่น (บังทอง) แต่มังกรหลับ (จูกัดเหลียง) ยังได้โอกาสเป็นเสนาบดีที่ครองตำแหน่งยาวนาน" ชีวประวัติบังทองที่เขียนโดย[[ตันซิ่ว]]ในศตวรรษที่ 3 มีการสลักบนกำแพงศิลาในโถงกลาง<ref name="zhjmg.com" />
เมื่อก่อนออกเดินทัพ บังทองได้พลัดตกม้าลงมา เล่าปี่จึงได้เปลี่ยนให้ม้า[[เต็กเลา]]แก่บังทอง เพราะเป็นม้าที่ขี่ได้สะดวก เมื่อมาถึงทางเล็กนี่แล้ว บังทองเห็นภูมิประเทศไม่น่าไว้ใจจึงให้ไปดูว่าที่นี่เรียกว่าอย่างไร ทหารคนหนึ่งวิ่งไปดูที่เนินเขาข้างหน้าพบตัวอักษรจารึกว่า "เนินหงส์ร่วง" บังทองอุทานว่า ''"อันตัวเรามีนามว่าหงส์ดรุณ หรือจะมาพบจุดจบ ณ ที่นี้จริง ๆ"'' และสั่งให้ทุกคนระวังตัว [[เตียวหยิม]]ซึ่งซุ่มทหารไว้ก่อนหน้านี้แล้ว สั่งให้ทหารยิงเป้าไปที่คนที่ขี่ม้าขาวด้วยเข้าใจว่าคือเล่าปี่ จึงระดมยิงไปที่บังทองซึ่งขี่ม้าเต็กเลาสีขาวแทนจนบังทองเสียชีวิต ทำให้แผนการบุกเสฉวนครั้งนี้ของเล่าปี่ต้องชะงักกะทันหันและต้องเชิญขงเบ้งจากเกงจิ๋วมาทำหน้าที่แทน


ในวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 2006 ศาลและสุสานได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[สถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่ได้รับความคุ้มครองในระดับชาติ]]ชุดที่หก<ref name="zhjmg.com" />
== ดูเพิ่ม ==
* [[บังทอง]]
* [[เต็กเลา]]


== อ้างอิง ==
==อ้างอิง==
{{reflist}}
* http://www.pramool.com:443/webboard/view.php3?katoo=K40155&page=3
* [[ตันซิ่ว]]. ''[[จดหมายเหตุสามก๊ก]]'' (''ซันกั๋วจื้อ'').
* [[ล่อกวนตง]]. ''[[สามก๊ก]]'' (''ซันกั๋วเหยี่ยนอี้'').


{{สามก๊ก}}
[[หมวดหมู่:สามก๊ก]]
[[หมวดหมู่:สามก๊ก|นิเนหงส์ร่วง]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ในสมัยสามก๊ก]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ในสมัยสามก๊ก]]
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในมณฑลเสฉวน]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:22, 14 เมษายน 2567

31°17′24.3″N 104°28′6.2″E / 31.290083°N 104.468389°E / 31.290083; 104.468389

ศาลและสุสานบังทอง
อักษรจีนตัวเต็ม龐統祠墓
อักษรจีนตัวย่อ庞统祠墓
ศาลมังกรและหงส์
อักษรจีนตัวเต็ม龍鳳祠
อักษรจีนตัวย่อ龙凤祠
ลกห้องโห (เนินหงส์ร่วง)
อักษรจีนตัวเต็ม落鳳坡
อักษรจีนตัวย่อ落凤坡

ศาลและสุสานบังทอง หรือชื่ออื่น ๆ ว่า ศาลมังกรและหงส์ และ เนินหงส์ร่วง เป็นศาลและสุสานที่ตั้งอยู่ในเมืองไป๋หม่ากวัน (白馬關鎮) เขตหลัวเจียง นครเต๋อหยาง มณฑลเสฉวน ประเทศจีน[1] ศาลเจ้าและสุสานสร้างเพื่ออุทิศแก่บังทอง (ค.ศ. 179–214) ที่ปรึกษาของเล่าปี่ จักรพรรดิผู้ก่อตั้งรัฐจ๊กก๊กในยุคสามก๊ก ในวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 2006 ศาลและสุสานกลายเป็นส่วนหนึ่งของสถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่ได้รับความคุ้มครองในระดับชาติชุดที่หก[2]

ภูมิหลัง

[แก้]

บังทองเป็นชาวเมืองซงหยง (襄陽郡 เซียงหยางจวิ้น; ปัจจุบันคือนครเซียงหยาง มณฑลหูเป่ย์) เริ่มรับราชการเป็นเจ้าหน้าที่ในเมืองลำกุ๋น (南郡 หนานจวิ้น; ปัจจุบันอยู่บริเวณนครจิงโจว มณฑลหูเป่ย์) ก่อนมาเป็นที่ปรึกษาของขุนศึกเล่าปี่ในปี ค.ศ. 209 ครั้นเมื่อราวปี ค.ศ. 210 ได้ติดตามเล่าปี่เข้าร่วมในการศึกเพื่อเข้ายึดมณฑลเอ๊กจิ๋ว (มีพื้นที่ครอบคุลมมณฑลเสฉวนและนครฉงชิ่งในปัจจุบัน) จากขุนศึกเล่าเจี้ยง บังทองเสียชีวิตเพราะถูกยิงด้วยเกาทัณฑ์ในศึกที่อำเภอลกเสีย (雒縣 ลั่วเซี่ยน; ปัจจุบันอยู่ทางเหนือของนครกวั่งฮั่น มณฑลเสฉวน) ในปี ค.ศ. 214[3]

การเสียชีวิตของบังทองได้มีการเสริมเติมดัดแปลงในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 14 เรื่องสามก๊ก ในนิยาย เตียวหยิมขุนพลของเล่าเจี้ยงจัดให้มีกองซุ่มอยู่นอกอำเภอลกเสีย ด้านเล่าปี่มอบม้าของตนคือเต๊กเลาให้บังทองขี่ก่อนเริ่มศึก บังทองนำกองทหารเข้าโจมตีอำเภอลกเสียและผ่านไปยังพื้นที่ที่มีการดักซุ่ม เตียวหยิมเห็นม้าเต๊กเลาก็เข้าใจว่าผู้ขี่คือเล่าปี่ สั่งให้ทหารยิงเกาทัณฑ์ใส่ผู้ขี่ บังทองถูกเกาทัณฑ์หลายดอกและเสียชีวิต ณ ที่นั้น สถานที่ที่บัวทองเสียชีวิตนั้นเรียกว่า "ลกห้องโห" (ลั่วเฟิ่งพัว) หรือ "เนินหงส์ร่วง"[4][5]

ประวัติของสุสานและศาล

[แก้]

เล่าปี่ให้สร้างสุสานและศาลของบังทองในปี ค.ศ. 214 หลังการเสียชีวิตของบังทอง มีอีกชื่อเรียกว่า "วัดไป๋หม่า" (白馬寺; แปลว่า "วัดม้าขาว") เพราะตั้งอยู่ในเมืองไป๋หม่ากวัน (白馬關鎮; แปลว่า "เมืองประตูม้าขาว") และยังมีชื่อเรียกอื่นว่า "ศาลมังกรและหงส์" เพราะมีรูปปั้นของบังทองและจูกัดเหลียงอยู่ข้างใน บังทองและจูกัดเหลียงมีฉายานามว่า "หงส์อ่อน" (ฮองซู) และ "มังกรหลับ" (ฮกหลง) ตามลำดับ และทั้งคู่เป็นที่ปรึกษาของเล่าปี่[2]

ศาลและสุสานผุพังไปตามกาลเวลาแต่ได้รับการบูรณะในปี ค.ศ. 1691 ในรัชสมัยของจักรพรรดิคังซีแห่งราชวงศ์ชิง ในปัจจุบัน ศาลมีประตูใหญ่ โถงกลาง โถงข้างสองแห่ง และศาลา โดยสุสานตั้งอยู่ข้าง ๆ มีต้นสนขนาดใหญ่สองต้นภายในศาลซึ่งกล่าวกันว่าปลูกโดยเตียวหุย ขุนพลของเล่าปี่ มีกลอนคู่คู่หนึ่งอยู่ที่ประตูความว่า "แม้ว่าเป็นที่แน่ชัดว่าจักรพรรดิองค์ก่อน (เล่าปี่) ทรงโปรดหงส์ที่ร่วงหล่น (บังทอง) แต่มังกรหลับ (จูกัดเหลียง) ยังได้โอกาสเป็นเสนาบดีที่ครองตำแหน่งยาวนาน" ชีวประวัติบังทองที่เขียนโดยตันซิ่วในศตวรรษที่ 3 มีการสลักบนกำแพงศิลาในโถงกลาง[2]

ในวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 2006 ศาลและสุสานได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของสถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่ได้รับความคุ้มครองในระดับชาติชุดที่หก[2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Deyang (Sichuan) City Information". China Knowledge. สืบค้นเมื่อ 1 January 2015.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 昭化古城001 [Zhaohua Gucheng 001] (4 June 2014). "庞统祠墓 [Pang Tong Shrine and Tomb]". zhjmg.com (ภาษาจีน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 January 2015. สืบค้นเมื่อ 1 January 2015.
  3. จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 37.
  4. สามก๊ก ตอนที่ 63.
  5. "สามก๊ก ตอนที่ ๕๑". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ May 27, 2023.