ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิธีใช้:การอ่านตารางจำแนกพันธุ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


สำหรับคำอธิบายเกี่ยวกับการใส่ตารางจำแนกพันธุ์ลงในบทความ และการปรับแก้ตารางจำแนกพันธุ์ ขอให้ท่านดูเพิ่มที่ [[วิกิพีเดีย:การใช้ตารางจำแนกพันธุ์]] และ [[วิกิพีเดีย:การใช้ตารางจำแนกพันธุ์แบบหลายส่วน]] สำหรับคำอธิบายการอ่านตารางจำแนกพันธุ์ มีดังนี้ (ดูภาพขวาประกอบหมายเลขที่ให้ไว้)
สำหรับคำอธิบายเกี่ยวกับการใส่ตารางจำแนกพันธุ์ลงในบทความ และการปรับแก้ตารางจำแนกพันธุ์ ขอให้ท่านดูเพิ่มที่ [[วิกิพีเดีย:การใช้ตารางจำแนกพันธุ์]] และ [[วิกิพีเดีย:การใช้ตารางจำแนกพันธุ์แบบหลายส่วน]] สำหรับคำอธิบายการอ่านตารางจำแนกพันธุ์ มีดังนี้ (ดูภาพขวาประกอบหมายเลขที่ให้ไว้)

# '''ชื่อสามัญ''' เป็นชื่อที่เราใช้เรียกขานสิ่งมีชีวิตกันทั่ว ๆ ไป จะใส่ลงตรงนี้ แต่ถ้าสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ๆ ไม่มีชื่อสามัญที่เป็นที่ยอมรับ ผู้เขียนบทความก็สามารถใช้ชื่อวิทยาศาสตร์แทนได้
# '''สีกล่องข้อความ''' เป็นสีที่แบ่งแยกสิ่งมีชีวิตต่างๆ ตามโดเมน และ อาณาจักร โดยจำแนกสีดังนี้
# '''ภาพของสิ่งมีชีวิต''' และคำบรรยาย เพื่อให้ท่านได้ทราบถึงลักษณะทางกายภาพของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ๆ
#*<div width="50%" style="background:#9A7B3D; padding:2; border:2px solid #9A7B3D; color:white;">'''{{WL|ยูแคริโอต}} ({{WL|Eukaryota}})'''</div>
# '''สถานะการอนุรักษ์''' จะแสดงไว้ใต้ชื่อสามัญเฉพาะสิ่งมีชีวิตบางสปีชีส์ โดยเฉพาะใน[[อาณาจักรสัตว์]] ที่มีสถานการณ์การดำรงเผ่าพันธุ์ใกล้สูญพันธุ์ (โดยส่วนมากในวิกิพีเดียไทยจะไม่เขียนไว้)
#*:<div width="50%" style="background:#F86049; padding:2; color:white;">'''{{WL|สัตว์}} ({{WL|Animalia}})'''</div>
#*:<div width="50%" style="background:#49D830; padding:2; color:white;">'''{{WL|พืช}} ({{WL|Plantae}})'''</div>
#*:<div width="50%" style="background:#1D69B6; padding:2; color:white;">'''{{WL|เห็ดรา}} ({{WL|Fungi}})'''</div>
#*:<div width="50%" style="background:#E8B311; padding:2; color:white;">'''{{WL|โพรทิสต์}} ({{WL|Protista}})'''</div>
#*<div width="50%" style="background:#606380; padding:2; border:2px solid #606380; color:white;">'''{{WL|อาร์เคีย}} ({{WL|Archaea}}) '''</div>
#*:<div width="50%" style="background:#606380; padding:2;color:white;">'''{{WL|อาร์คีแบคทีเรีย}} ({{WL|Archaebacteria}}) ({{WL|มอเนอรา}})'''</div>
#*<div width="50%" style="background:#A898B6; padding:2; border:2px solid #A898B6; color:white;">'''{{WL|แบคทีเรีย}} ({{WL|Bacteria}}) '''</div>
#*:<div width="50%" style="background:#A898B6; padding:2;color:white;">'''{{WL|ยูแบคทีเรีย}} ({{WL|Eubacteria}}) ({{WL|มอเนอรา}})'''</div>
#*<div width="50%" style="background:#ED50D6; padding:2; border:2px solid #ED50D6; color:white;">'''{{WL|ไวรัส}} ({{WL|Virus}})'''</div>
#*<div width="50%" style="background:#666666; padding:2; border:2px solid #ff9900; color:white;">'''โดเมนอื่นๆ อาณาจักรอื่นๆ หรือไม่มีการระบุ'''</div>
# '''ชื่อสามัญ''' เป็นชื่อที่เราใช้เรียกขานสิ่งมีชีวิตกันทั่ว ๆ ไป จะใส่ลงตรงนี้ แต่ถ้าสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ๆ ไม่มีชื่อสามัญที่เป็นที่ยอมรับ ผู้เขียนบทความก็สามารถใช้ชื่อวิทยาศาสตร์แทนได้
# '''ภาพของสิ่งมีชีวิต''' อาจเป็นภาพถ่าย หรือภาพวาด เพื่อบ่งบอกลักษณะทางกายภาพ
# '''คำบรรยาย''' อาจจะอธิบายรายละเอียดภาพ แหล่งที่มา ชื่อผู้ถ่าย หรืออื่นๆ
# '''สถานะการอนุรักษ์''' จะแสดงไว้เฉพาะสิ่งมีชีวิตบางสปีชีส์ โดยเฉพาะใน[[อาณาจักรสัตว์]] ที่มีสถานการณ์การดำรงเผ่าพันธุ์ใกล้สูญพันธุ์ (โดยส่วนมากในวิกิพีเดียไทยจะไม่เขียนไว้)
#'''การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์''' แสดงการจัดสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ซึ่งจะสัมพันธ์กับลักษณะของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ซึ่งประกอบด้วยชื่อชั้นการจำแนกดังนี้
#'''การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์''' แสดงการจัดสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ซึ่งจะสัมพันธ์กับลักษณะของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ซึ่งประกอบด้วยชื่อชั้นการจำแนกดังนี้
#*'''โดเมน'''(หรือ'''เขต''')-แสดงกลุ่มใหญ่ของสิ่งมีชีวิต (บทความส่วนใหญ่มักไม่แสดงไว้)
#*'''โดเมน'''(หรือ'''เขต''')-แสดงกลุ่มใหญ่ของสิ่งมีชีวิต (บทความส่วนใหญ่มักไม่แสดงไว้)
บรรทัด 18: บรรทัด 32:
#:นอกจากนี้ บางครั้งอาจจะมี "สกุลย่อย" (ซับจีนัส-subgenus), สกุลใหญ่" (ซูเปอร์จีนัส-supergenus) ฯลฯ การที่เติมคำว่า -ย่อย (sub-) หรือ -ใหญ่ (super-) ไว้กับชื่อชั้นการจำแนก ก็เพื่อระบุชื่อการจำแนกที่สูงหรือต่ำกว่าชื่อชั้นการจำแนกนั้น ๆ แต่ไม่เลยชั้นการจำแนกที่อยู่ถัดกัน <u>ตัวอย่างเช่น สกุลใหญ่ จะอยู่เหนือกว่าสกุล แต่ต่ำกว่าวงศ์ เป็นต้น</u>
#:นอกจากนี้ บางครั้งอาจจะมี "สกุลย่อย" (ซับจีนัส-subgenus), สกุลใหญ่" (ซูเปอร์จีนัส-supergenus) ฯลฯ การที่เติมคำว่า -ย่อย (sub-) หรือ -ใหญ่ (super-) ไว้กับชื่อชั้นการจำแนก ก็เพื่อระบุชื่อการจำแนกที่สูงหรือต่ำกว่าชื่อชั้นการจำแนกนั้น ๆ แต่ไม่เลยชั้นการจำแนกที่อยู่ถัดกัน <u>ตัวอย่างเช่น สกุลใหญ่ จะอยู่เหนือกว่าสกุล แต่ต่ำกว่าวงศ์ เป็นต้น</u>
#'''ชื่อทวินาม''' หรือ '''ชื่อไตรนาม''' (หรือ'''ชื่อวิทยาศาสตร์''') คือชื่อที่ให้แก่สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์ เพื่อให้เข้าใจได้โดยทั่วกัน ถ้ามีสองส่วนเรียกชื่อทวินาม และถ้ามีสามส่วนก็เรียกชื่อไตรนาม และ'''ชื่อย่อนักวิทยาศาสตร์''' เป็นชื่อย่อของนักวิทยาศาสตร์ผู้ตีพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นเป็นครั้งแรก มักใส่ไว้ท้ายชื่อวิทยาศาสตร์ เมื่อกล่าวถึงเป็นครั้งแรกในงานตีพิมพ์ต่าง ๆ โดยมีกฎเกณฑ์บางประการดังนี้
#'''ชื่อทวินาม''' หรือ '''ชื่อไตรนาม''' (หรือ'''ชื่อวิทยาศาสตร์''') คือชื่อที่ให้แก่สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์ เพื่อให้เข้าใจได้โดยทั่วกัน ถ้ามีสองส่วนเรียกชื่อทวินาม และถ้ามีสามส่วนก็เรียกชื่อไตรนาม และ'''ชื่อย่อนักวิทยาศาสตร์''' เป็นชื่อย่อของนักวิทยาศาสตร์ผู้ตีพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นเป็นครั้งแรก มักใส่ไว้ท้ายชื่อวิทยาศาสตร์ เมื่อกล่าวถึงเป็นครั้งแรกในงานตีพิมพ์ต่าง ๆ โดยมีกฎเกณฑ์บางประการดังนี้
* ใส่ชื่อสกุลเต็ม เมื่อใช้กับสัตว์ (มักใส่ปีที่ตีพิมพ์ด้วย) เช่น ''Panthera leo'' [[คาโรลัส ลินเนียส|Linnaeus]], [[พ.ศ. 2301|1758]] ซึ่งเป็นชื่อของ[[สิงโต]]
#* ใส่ชื่อสกุลเต็ม เมื่อใช้กับสัตว์ (มักใส่ปีที่ตีพิมพ์ด้วย) เช่น ''Panthera leo'' [[คาโรลัส ลินเนียส|Linnaeus]], [[พ.ศ. 2301|1758]] ซึ่งเป็นชื่อของ[[สิงโต]]
* ใส่ชื่อสกุลย่อ เมื่อใช้กับพืช และ[[อาณาจักรฟังไจ|เห็ดรา]] เช่น ''Cocos nucifera'' [[คาโรลัส ลินเนียส|L.]] ซึ่งเป็นชื่อของ[[มะพร้าว]]
#* ใส่ชื่อสกุลย่อ เมื่อใช้กับพืช และ[[อาณาจักรฟังไจ|เห็ดรา]] เช่น ''Cocos nucifera'' [[คาโรลัส ลินเนียส|L.]] ซึ่งเป็นชื่อของ[[มะพร้าว]]
นอกเหนือจากนี้ อาจมีข้อมูลอื่น ๆ เช่นแผนที่แสดงถิ่นที่อยู่ และชื่อพ้อง (synonym) ฯลฯ
# '''การกระจายและถิ่นอาศัย''' บางสปีชีส์ ซึ่งมีข้อมูลสำรวจเรื่องถิ่นที่อยู่ จะมีการทำแผนที่แสดงเขตถิ่นที่อยู่กำกับ
# นอกเหนือจากนี้ อาจมีข้อมูลอื่น ๆ เช่นชื่อพ้อง (synonym) ฯลฯ
สำหรับสีที่อยู่บนตารางจำแนกพันธุ์ แสดงถึงอาณาจักรหรือโดเมน ที่ได้จัดจำแนกสิ่งมีชีวิตให้อยู่ แต่ส่วนมากจะยึดที่อาณาจักรมากกว่า ดังตาราง
{| class="wikitable"
|-
! อาณาจักร||สี||รหัสสีในวิกิพีเดีย
|-
! style="background:pink" | [[อาณาจักรสัตว์]] ||[[สีชมพู|ชมพู]]|| pink
|-
! style="background:lightgreen" | [[อาณาจักรพืช]] ||[[สีเขียว|เขียวอ่อน]]|| lightgreen
|-
! style="background:lightblue" | [[อาณาจักรฟังไจ]] ||[[สีฟ้า|ฟ้า]]|| lightblue
|-
! style="background:khaki" | [[อาณาจักรโพรทิสตา]] ||[[สีกากี|กากี]]|| khaki
|-
|}

{| class="wikitable"
|-
! [[เขต (ชีววิทยา)|โดเมน]]||สี||รหัสสีในวิกิพีเดีย
|-
! style="background:#e0d0b0" | [[ยูแคริโอต|โดเมนยูคาเรีย]] ||[[สีน้ำตาล|น้ำตาลอ่อน]]|| #e0d0b0
|-
! style="background:lightgrey" | [[แบคทีเรีย|โดเมนแบคทีเรีย]] ||[[สีเทา|เทาอ่อน]]|| lightgr'''e'''y
|-
! style="background:darkgray" | [[อาร์เคีย|โดเมนอาร์เคีย]] ||[[สีเทา|เทาเข้ม]]|| darkgr'''a'''y
|-
|}

{| class="wikitable"
|-
! ชนิด||สี||รหัสสีในวิกิพีเดีย


|-
! style="background:violet" | [[ไวรัส]]||[[สีม่วง|ม่วง]] || violet
|-
|}
== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
# [[วิกิพีเดีย:การใช้ตารางจำแนกพันธุ์]]
# [[วิกิพีเดีย:การใช้ตารางจำแนกพันธุ์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:23, 8 กรกฎาคม 2550

ตัวอย่างตารางจำแนกพันธุ์
ตัวอย่างตารางจำแนกพันธุ์

ตารางจำแนกพันธุ์ หรือ taxobox (ย่อมาจาก taxonomy infobox) เป็นตารางที่สร้างขึ้นเพื่อจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตว่าอยู่ในสายวิวัฒนาการใด สำหรับการอ่านตารางจำแนกพันธุ์นั้น ท่านสามารถทำความเข้าใจได้ไม่ยากนัก อาจจะมีปัญหาอยู่บ้างเล็กน้อยตรงที่ชั้นของวิวัฒนาการ หนังสือบางเล่มอาจเขียนไม่ตรงกับที่เขียนไว้ภายในวิกิพีเดียก็ได้ เช่น ส่วน (พืช) หนังสือบางเล่มเขียนเป็น ดิวิชัน ก็ได้

สำหรับคำอธิบายเกี่ยวกับการใส่ตารางจำแนกพันธุ์ลงในบทความ และการปรับแก้ตารางจำแนกพันธุ์ ขอให้ท่านดูเพิ่มที่ วิกิพีเดีย:การใช้ตารางจำแนกพันธุ์ และ วิกิพีเดีย:การใช้ตารางจำแนกพันธุ์แบบหลายส่วน สำหรับคำอธิบายการอ่านตารางจำแนกพันธุ์ มีดังนี้ (ดูภาพขวาประกอบหมายเลขที่ให้ไว้)

  1. สีกล่องข้อความ เป็นสีที่แบ่งแยกสิ่งมีชีวิตต่างๆ ตามโดเมน และ อาณาจักร โดยจำแนกสีดังนี้
  2. ชื่อสามัญ เป็นชื่อที่เราใช้เรียกขานสิ่งมีชีวิตกันทั่ว ๆ ไป จะใส่ลงตรงนี้ แต่ถ้าสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ๆ ไม่มีชื่อสามัญที่เป็นที่ยอมรับ ผู้เขียนบทความก็สามารถใช้ชื่อวิทยาศาสตร์แทนได้
  3. ภาพของสิ่งมีชีวิต อาจเป็นภาพถ่าย หรือภาพวาด เพื่อบ่งบอกลักษณะทางกายภาพ
  4. คำบรรยาย อาจจะอธิบายรายละเอียดภาพ แหล่งที่มา ชื่อผู้ถ่าย หรืออื่นๆ
  5. สถานะการอนุรักษ์ จะแสดงไว้เฉพาะสิ่งมีชีวิตบางสปีชีส์ โดยเฉพาะในอาณาจักรสัตว์ ที่มีสถานการณ์การดำรงเผ่าพันธุ์ใกล้สูญพันธุ์ (โดยส่วนมากในวิกิพีเดียไทยจะไม่เขียนไว้)
  6. การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แสดงการจัดสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ซึ่งจะสัมพันธ์กับลักษณะของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ซึ่งประกอบด้วยชื่อชั้นการจำแนกดังนี้
    • โดเมน(หรือเขต)-แสดงกลุ่มใหญ่ของสิ่งมีชีวิต (บทความส่วนใหญ่มักไม่แสดงไว้)
    • อาณาจักร-แสดงกลุ่มใหญ่ระดับรอง ซึ่งสามารถแยกชัดว่าสิ่งมีชีวิตในกลุ่มเหล่านั้นมีลักษณะแยกชัดกันอย่างไร เช่น สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืชสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ เป็นต้น
    • ไฟลัม หรือส่วน(หรือดิวิชัน)-แสดงชนิดของสิ่งมีชีวิตหลัก ๆ ตามสายวิวัฒนาการ สำหรับคำว่า ส่วน หรือดิวิชัน ใช้กับอาณาจักรพืชและฟังไจ
    • ชั้น (หรือคลาส) แสดงลักษณะย่อยรองลงมาจากไฟลัม เช่น สัตว์ชนิดหนึ่งอยู่ในคลาสแมมมาเลีย (mammalia) แสดงว่าสัตว์ชนิดนั้นเลี้ยงลูกด้วยนม หรือพืชชนิดหนึ่งอยู่ในคลาสลิลิออปซิดา (lliopsida) ก็แสดงว่าพืชชนิดนั้นเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เป็นต้น
    • ตระกูล (หรืออันดับ)-ลักษณะรองลงมาจากคลาส
    • วงศ์-รองลงมาจากอันดับ
    • สกุล-รองลงมาจากวงศ์
    • สปีชีส์-ขยายความลักษณะสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ
    นอกจากนี้ บางครั้งอาจจะมี "สกุลย่อย" (ซับจีนัส-subgenus), สกุลใหญ่" (ซูเปอร์จีนัส-supergenus) ฯลฯ การที่เติมคำว่า -ย่อย (sub-) หรือ -ใหญ่ (super-) ไว้กับชื่อชั้นการจำแนก ก็เพื่อระบุชื่อการจำแนกที่สูงหรือต่ำกว่าชื่อชั้นการจำแนกนั้น ๆ แต่ไม่เลยชั้นการจำแนกที่อยู่ถัดกัน ตัวอย่างเช่น สกุลใหญ่ จะอยู่เหนือกว่าสกุล แต่ต่ำกว่าวงศ์ เป็นต้น
  7. ชื่อทวินาม หรือ ชื่อไตรนาม (หรือชื่อวิทยาศาสตร์) คือชื่อที่ให้แก่สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์ เพื่อให้เข้าใจได้โดยทั่วกัน ถ้ามีสองส่วนเรียกชื่อทวินาม และถ้ามีสามส่วนก็เรียกชื่อไตรนาม และชื่อย่อนักวิทยาศาสตร์ เป็นชื่อย่อของนักวิทยาศาสตร์ผู้ตีพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นเป็นครั้งแรก มักใส่ไว้ท้ายชื่อวิทยาศาสตร์ เมื่อกล่าวถึงเป็นครั้งแรกในงานตีพิมพ์ต่าง ๆ โดยมีกฎเกณฑ์บางประการดังนี้
    • ใส่ชื่อสกุลเต็ม เมื่อใช้กับสัตว์ (มักใส่ปีที่ตีพิมพ์ด้วย) เช่น Panthera leo Linnaeus, 1758 ซึ่งเป็นชื่อของสิงโต
    • ใส่ชื่อสกุลย่อ เมื่อใช้กับพืช และเห็ดรา เช่น Cocos nucifera L. ซึ่งเป็นชื่อของมะพร้าว
  8. การกระจายและถิ่นอาศัย บางสปีชีส์ ซึ่งมีข้อมูลสำรวจเรื่องถิ่นที่อยู่ จะมีการทำแผนที่แสดงเขตถิ่นที่อยู่กำกับ
  9. นอกเหนือจากนี้ อาจมีข้อมูลอื่น ๆ เช่นชื่อพ้อง (synonym) ฯลฯ

ดูเพิ่ม

  1. วิกิพีเดีย:การใช้ตารางจำแนกพันธุ์