ยุคพาลีโอจีน
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Paleogene)
ยุคพาลีโอจีน | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
66.0 – 23.03 ล้านปีก่อน | |||||||||||||
วิทยาการลำดับเวลา | |||||||||||||
| |||||||||||||
นิรุกติศาสตร์ | |||||||||||||
ความเป็นทางการของชื่อ | ทางการ | ||||||||||||
การสะกดแบบอื่น | Palaeogene, Palæogene | ||||||||||||
ข้อมูลการใช้ | |||||||||||||
เทห์วัตถุ | โลก | ||||||||||||
การใช้ระดับภาค | ทั่วโลก (ICS) | ||||||||||||
การใช้ช่วงเวลา | ธรณีกาลของ ICS | ||||||||||||
การนิยาม | |||||||||||||
หน่วยวิทยาการลำดับเวลา | ยุค | ||||||||||||
หน่วยลำดับชั้นหิน | หินยุค | ||||||||||||
ความเป็นทางการของช่วงกาล | ทางการ | ||||||||||||
คำนิยามขอบล่าง | ชั้นซึ่งอุดมไปด้วยธาตุอิริเดียมซึ่งเกี่ยวข้องกับการชนครั้งใหญ่ของอุกกาบาตและเป็นเหตุให้เกิดเหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีนตามมา | ||||||||||||
ขอบล่าง GSSP | แหล่งเอลเคฟ เอลเคฟ ประเทศตูนิเซีย 36°09′13″N 8°38′55″E / 36.1537°N 8.6486°E | ||||||||||||
การอนุมัติ GSSP | 1991[3] | ||||||||||||
คำนิยามขอบบน |
| ||||||||||||
ขอบบน GSSP | แหล่งเลมเม-การ์โรซีโอ การ์โรซีโอ ประเทศอิตาลี 44°39′32″N 8°50′11″E / 44.6589°N 8.8364°E | ||||||||||||
การอนุมัติ GSSP | 1996[4] | ||||||||||||
ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศ | |||||||||||||
ปริมาณ O 2 เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ | ประมาณ 26 % โดยปริมาตร (130 % ของปัจจุบัน) | ||||||||||||
ปริมาณ CO 2 เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ | ประมาณ 500 ppm (2 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม) | ||||||||||||
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ย | ประมาณ 18 °C (สูงกว่าปัจจุบัน 4 °C) |
ยุคพาลีโอจีน (Paleogene) เป็นยุคหนึ่งทางธรณีกาลของโลก อยู่ระหว่าง 66 ± 0.3 ถึง 23 ± 0.05 ล้านปีมาแล้ว และเป็นยุคแรกของมหายุคซีโนโซอิก[5] ยุคนี้กินเวลาประมาณ 42 ล้านปี เป็นยุคที่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็ก มีรูปแบบเรียบง่ายได้วิวัฒนาการเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ที่ซับซ้อน หลังเหตุการณ์การสูญพันธุ์ในยุคครีเทเชียส-เทอร์เชียรีในปลายยุคครีเทเชียส นกมีการวิวัฒนาการสู่รูปแบบในปัจจุบันในยุคนี้เช่นกัน
ยุคพาลีโอจีนแบ่งเป็น 3 สมัย คือ สมัยพาลีโอซีน,สมัยอีโอซีน,สมัยโอลิโกซีน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Zachos, J. C.; Kump, L. R. (2005). "Carbon cycle feedbacks and the initiation of Antarctic glaciation in the earliest Oligocene". Global and Planetary Change. 47 (1): 51–66. Bibcode:2005GPC....47...51Z. doi:10.1016/j.gloplacha.2005.01.001.
- ↑ "International Chronostratigraphic Chart" (PDF). International Commission on Stratigraphy.
- ↑ Molina, Eustoquio; Alegret, Laia; Arenillas, Ignacio; José A. Arz; Gallala, Njoud; Hardenbol, Jan; Katharina von Salis; Steurbaut, Etienne; Vandenberghe, Noel; Dalila Zaghibib-Turki (2006). "The Global Boundary Stratotype Section and Point for the base of the Danian Stage (Paleocene, Paleogene, "Tertiary", Cenozoic) at El Kef, Tunisia - Original definition and revision" (PDF). Episodes. 29 (4): 263–278. doi:10.18814/epiiugs/2006/v29i4/004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 December 2012. สืบค้นเมื่อ 14 September 2012.
- ↑ Steininger, Fritz F.; M. P. Aubry; W. A. Berggren; M. Biolzi; A. M. Borsetti; Julie E. Cartlidge; F. Cati; R. Corfield; R. Gelati; S. Iaccarino; C. Napoleone; F. Ottner; F. Rögl; R. Roetzel; S. Spezzaferri; F. Tateo; G. Villa; D. Zevenboom (1997). "The Global Stratotype Section and Point (GSSP) for the base of the Neogene" (PDF). Episodes. 20 (1): 23–28. doi:10.18814/epiiugs/1997/v20i1/005.
- ↑ Formerly the period covered by the Paleogene was called the first part of the Tertiary, whose usage is no longer official. "Whatever happened to the Tertiary and Quaternary?"
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ยุคพาลีโอจีน
ก่อนหน้า บรมยุคโพรเทอโรโซอิก |
บรมยุคฟาเนอโรโซอิก 541 Ma - ปัจจุบัน | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
มหายุคพาลีโอโซอิก 541 Ma - 252 Ma |
มหายุคมีโซโซอิก 252 Ma - 66 Ma |
มหายุคซีโนโซอิก 66 Ma - ปัจจุบัน | ||||||||||
แคมเบรียน | ออร์โดวิเชียน | ไซลูเรียน | ดีโวเนียน | คาร์บอนิเฟอรัส | เพอร์เมียน | ไทรแอสซิก | จูแรสซิก | ครีเทเชียส | พาลีโอจีน | นีโอจีน | ควอเทอร์นารี |