ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 884: บรรทัด 884:
ไฟล์:ร.ต.อ.ดร.เฉลิม อยู่บำรุง.jpg | ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง
ไฟล์:ร.ต.อ.ดร.เฉลิม อยู่บำรุง.jpg | ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง
ไฟล์:Supachai Panitchpakdi.jpg | ศุภชัย พานิชภักดิ์
ไฟล์:Supachai Panitchpakdi.jpg | ศุภชัย พานิชภักดิ์
ไฟล์:Pramote_sukhum.jpg | ปราโมทย์ สุขุม
ไฟล์:9444.jpg | วิลาศ จันทร์พิทักษ์
ไฟล์:9444.jpg | วิลาศ จันทร์พิทักษ์
ไฟล์:Paweena hongsakul.jpg | ปวีณา หงสกุล
ไฟล์:Paweena hongsakul.jpg | ปวีณา หงสกุล
บรรทัด 898: บรรทัด 897:
ไฟล์:นายกรัฐมนตรี กล่าวสุนทรพจน์ในงานเลี้ยงอาหารค่ำประจำปีข - Flickr - Abhisit Vejjajiva (40).jpg | กรณ์ จาติกวณิช
ไฟล์:นายกรัฐมนตรี กล่าวสุนทรพจน์ในงานเลี้ยงอาหารค่ำประจำปีข - Flickr - Abhisit Vejjajiva (40).jpg | กรณ์ จาติกวณิช
ไฟล์:Tankhun Jitt-itsara 3.jpg| แทนคุณ จิตต์อิสระ
ไฟล์:Tankhun Jitt-itsara 3.jpg| แทนคุณ จิตต์อิสระ
ไฟล์:นายกรัฐมนตรี ร่วมงานตรุษจีน ไชน่าทาวน์ และร่วมรับเสด็จ - Flickr - Abhisit Vejjajiva (9).jpg|อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์
ไฟล์:Boonyod Sookthinthai cropped 1.jpg|บุญยอด สุขถิ่นไทย
ไฟล์:Boonyod Sookthinthai cropped 1.jpg|บุญยอด สุขถิ่นไทย
ไฟล์:Khunying Sudarat Keyurapan and her husband at the Royal Thai Palace in 2017.jpg|สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ และสามี
ไฟล์:Khunying Sudarat Keyurapan and her husband at the Royal Thai Palace in 2017.jpg|สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ และสามี

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:43, 14 ธันวาคม 2561

กรุงเทพมหานคร มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 33 เขต[1] (พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยขณะนั้นกรุงเทพมหานครยังถูกแบ่งเป็นจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี

ปี พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีรวมกันเป็น กรุงเทพมหานคร และมีการเลือกตั้งครั้งแรกใน พ.ศ. 2518 หรือสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 เป็นสมาชิกฯ ชุดแรกของกรุงเทพมหานคร

เขตการเลือกตั้ง

การเลือกตั้ง เขตการเลือกตั้ง จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพญาไท
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพระโขนง, เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตบางเขน, เขตห้วยขวาง, เขตบางกะปิ และเขตมีนบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตยานนาวาและเขตปทุมวัน
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตบางรัก
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตธนบุรี, เขตคลองสาน และเขตราษฎร์บูรณะ
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางกอกน้อย, เขตบางกอกใหญ่ และเขตตลิ่งชัน
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตบางขุนเทียน, เขตหนองแขม และเขตภาษีเจริญ
26 คน (เขต 1–8 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 9 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพญาไท
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพระโขนง, เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตบางเขน, เขตห้วยขวาง, เขตบางกะปิ และเขตมีนบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและเขตปทุมวัน
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตบางกอกน้อยและเขตบางกอกใหญ่
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางขุนเทียน, เขตภาษีเจริญ, เขตราษฎร์บูรณะ และเขตตลิ่งชัน
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตพระนคร, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตบางรัก
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตยานนาวา
28 คน (เขต 1–8 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 9–10 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพญาไท
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพระโขนง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตบางเขน, เขตมีนบุรี, เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวางและเขตบางกะปิ
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและเขตปทุมวัน
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตยานนาวา
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางกอกน้อยและเขตบางกอกใหญ่
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตธนบุรี, เขตคลองสาน และเขตราษฎร์บูรณะ
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางขุนเทียน, เขตภาษีเจริญ, เขตหนองแขม และเขตตลิ่งชัน
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตพระนคร, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตบางรัก
32 คน (เขต 1–10 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 11 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต (ยกเว้นแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตดุลิต (เฉพาะแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา), เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตปทุมวัน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไท (เฉพาะแขวงสามเสนใน แขวงถนนเพชรบุรี และแขวงทุ่งพญาไท)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง (ยกเว้นแขวงคลองตันและแขวงสวนหลวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวาง, เขตพระโขนง (เฉพาะแขวงคลองตันและแขวงสวนหลวง) และเขตพญาไท (ยกเว้นแขวงสามเสนใน แขวงถนนเพชรบุรี และแขวงทุ่งพญาไท)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางเขน
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางกะปิ, เขตหนองจอก และเขตมีนบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตพระนคร, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก และเขตคลองสาน
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตธนบุรี, เขตบางกอกใหญ่ และเขตราษฎร์บูรณะ
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตบางกอกน้อยและเขตตลิ่งชัน
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตภาษีเจริญ, เขตหนองแขม และเขตบางขุนเทียน
36 คน (12 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต (ยกเว้นแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสัมพันธวงศ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไทและเขตดุสิต (เฉพาะแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง (ยกเว้นแขวงคลองตันและแขวงสวนหลวง) และเขตลาดกระบัง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวางและเขตพระโขนง (เฉพาะแขวงคลองตันและแขวงคลองเตย)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางเขน
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางกะปิ, เขตหนองจอก และเขตมีนบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางขุนเทียนและเขตราษฎร์บูรณะ
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตบางกอกน้อยและเขตตลิ่งชัน
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางกอกใหญ่ และเขตหนองแขม
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต (ยกเว้นแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสัมพันธวงศ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไทและเขตดุสิต (เฉพาะแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง (ยกเว้นแขวงคลองตันและแขวงสวนหลวง) และเขตลาดกระบัง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวาง และเขตพระโขนง (เฉพาะแขวงคลองตันและแขวงคลองเตย)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางกะปิ
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตบางขุนเทียนและเขตราษฎร์บูรณะ
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางกอกน้อยและเขตตลิ่งชัน
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางกอกใหญ่ และเขตหนองแขม
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตบางเขน (ยกเว้นแขวงคลองถนน แขวงตลาดบางเขน แขวงสายไหม และแขวงสีกัน)
· เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตมีนบุรี, เขตหนองจอก และเขตบางเขน (เฉพาะแขวงคลองถนน แขวงตลาดบางเขน แขวงสายไหม และแขวงสีกัน)
37 คน (เขต 1–11 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 12–13 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต, เขตบางซื่อ และเขตราชเทวี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสัมพันธวงศ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไท, เขตจตุจักร และเขตดอนเมือง (เฉพาะแขวงทุ่งสองห้อง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง, เขตลาดกระบัง และเขตประเวศ
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวางและเขตคลองเตย
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา, เขตสาธร และเขตบางคอแหลม
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางกะปิ, เขตบึงกุ่ม และเขตลาดพร้าว
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตบางขุนเทียน, เขตราษฎร์บูรณะ และเขตจอมทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางกอกน้อย, เขตตลิ่งชัน และเขตบางพลัด
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางกอกใหญ่ และเขตหนองแขม
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตบางเขน, เขตมีนบุรี, เขตหนองจอก และเขตดอนเมือง (ยกเว้นแขวงทุ่งสองห้อง)
35 คน (ทุกเขต เขตละ 3 คน ยกเว้นเขต 8 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต, เขตบางซื่อ และเขตราชเทวี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสัมพันธวงศ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไท, เขตจตุจักร และเขตลาดพร้าว
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง, เขตประเวศ และเขตสวนหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวาง, เขตคลองเตย (ยกเว้นแขวงคลองเตย) และเขตดินแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา, เขตสาธร, เขตบางคอแหลม และเขตคลองเตย (เฉพาะแขวงคลองเตย)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางกะปิและเขตบึงกุ่ม
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตบางขุนเทียน, เขตราษฎร์บูรณะ และเขตจอมทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางกอกน้อย, เขตตลิ่งชัน และเขตบางพลัด
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางกอกใหญ่ และเขตหนองแขม
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตบางเขนและเขตดอนเมือง
· เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตมีนบุรี, เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง
37 คน (ทุกเขต เขตละ 3 คน ยกเว้นเขต 8 และเขต 13 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต, เขตบางซื่อ และเขตราชเทวี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสัมพันธวงศ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไท, เขตจตุจักร และเขตลาดพร้าว
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง, เขตประเวศ และเขตสวนหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวาง, เขตคลองเตย (ยกเว้นแขวงคลองเตยและแขวงคลองเตยเหนือ) และเขตดินแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา, เขตสาธร, เขตบางคอแหลม และเขตคลองเตย (เฉพาะแขวงคลองเตยและแขวงคลองเตยเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางกะปิและเขตบึงกุ่ม
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตบางขุนเทียน, เขตราษฎร์บูรณะ และเขตจอมทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางกอกน้อย, เขตตลิ่งชัน และเขตบางพลัด
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางกอกใหญ่ และเขตหนองแขม
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตบางเขนและเขตดอนเมือง
· เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตมีนบุรี, เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตพระนครและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตดุสิต
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตบางซื่อ
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพญาไทและเขตราชเทวี (เฉพาะแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตปทุมวันและเขตราชเทวี (ยกเว้นแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตบางรัก, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตสาทร (ยกเว้นแขวงทุ่งวัดดอน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตยานนาวาและเขตสาทร (เฉพาะแขวงทุ่งวัดดอน)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางคอแหลม
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตคลองเตย
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตห้วยขวางและเขตวัฒนา (ยกเว้นแขวงพระโขนงเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตดินแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตจตุจักร
· เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตหลักสี่
· เขตเลือกตั้งที่ 14 : เขตดอนเมือง
· เขตเลือกตั้งที่ 15 : เขตสายไหม
· เขตเลือกตั้งที่ 16 : เขตบางเขน
· เขตเลือกตั้งที่ 17 : เขตลาดพร้าว
· เขตเลือกตั้งที่ 18 : เขตวังทองหลาง
· เขตเลือกตั้งที่ 19 : เขตบางกะปิ
· เขตเลือกตั้งที่ 20 : เขตบึงกุ่ม
· เขตเลือกตั้งที่ 21 : เขตคันนายาวและเขตสะพานสูง
· เขตเลือกตั้งที่ 22 : เขตสวนหลวงและเขตประเวศ (เฉพาะแขวงประเวศ)
· เขตเลือกตั้งที่ 23 : เขตบางนาและเขตประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ)
· เขตเลือกตั้งที่ 24 : เขตพระโขนงและเขตวัฒนา (เฉพาะแขวงพระโขนงเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 25 : เขตหนองจอกและเขตลาดกระบัง
· เขตเลือกตั้งที่ 26 : เขตมีนบุรีและเขตคลองสามวา
· เขตเลือกตั้งที่ 27 : เขตธนบุรี (ยกเว้นแขวงวัดกัลยาณ์และแขวงหิรัญรูจี)
· เขตเลือกตั้งที่ 28 : เขตคลองสาน และเขตธนบุรี (เฉพาะแขวงวัดกัลยาณ์และแขวงหิรัญรูจี)
· เขตเลือกตั้งที่ 29 : เขตบางพลัดและเขตบางกอกน้อย (เฉพาะแขวงอรุณอมรินทร์)
· เขตเลือกตั้งที่ 30 : เขตบางกอกน้อย (ยกเว้นแขวงอรุณอมรินทร์)
· เขตเลือกตั้งที่ 31 : เขตตลิ่งชันและเขตภาษีเจริญ (เฉพาะแขวงบางแวก แขวงบางด้วน และแขวงคลองขวาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 32 : เขตบางกอกใหญ่และเขตภาษีเจริญ (ยกเว้นแขวงบางแวก แขวงบางด้วน และแขวงคลองขวาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 33 : เขตจอมทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 34 : เขตราษฎร์บูรณะและเขตทุ่งครุ
· เขตเลือกตั้งที่ 35 : เขตบางขุนเทียนและเขตบางบอน
· เขตเลือกตั้งที่ 36 : เขตบางแค (ยกเว้นแขวงหลักสอง)
· เขตเลือกตั้งที่ 37 : เขตทวีวัฒนา, เขตหนองแขม และเขตบางแค (เฉพาะแขวงหลักสอง)
37 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต, เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก, เขตปทุมวัน และเขตราชเทวี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตสาทร, เขตบางคอแหลม, เขตยานนาวา, เขตคลองเตย และเขตวัฒนา
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตห้วยขวาง, เขตดินแดง, เขตลาดพร้าว และเขตวังทองหลาง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตบางซื่อ, เขตหลักสี่, เขตจตุจักร และเขตพญาไท
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตบางเขน, เขตดอนเมือง และเขตสายไหม
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตหนองจอก, เขตคลองสามวา, เขตคันนายาว และเขตบึงกุ่ม
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางกะปิ, เขตสะพานสูง, เขตมีนบุรี และเขตลาดกระบัง
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตพระโขนง, เขตประเวศ, เขตบางนา และเขตสวนหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตธนบุรี, เขตคลองสาน, เขตบางกอกใหญ่ และเขตจอมทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตราษฎร์บูรณะ, เขตทุ่งครุ, เขตบางขุนเทียน และเขตบางบอน
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางแค และเขตหนองแขม
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตบางกอกน้อย, เขตตลิ่งชัน, เขตบางพลัด และเขตทวีวัฒนา
36 คน (12 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตสัมพันธวงศ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสาทร
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตบางคอแหลมและเขตยานนาวา
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตคลองเตยและเขตวัฒนา
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตดุสิตและเขตราชเทวี
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตดินแดงและเขตพญาไท
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตห้วยขวางและเขตวังทองหลาง (เฉพาะแขวงวังทองหลางและแขวงพลับพลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตลาดพร้าวและเขตวังทองหลาง (ยกเว้นแขวงวังทองหลางและแขวงพลับพลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตจตุจักร
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางซื่อ
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตหลักสี่และเขตดอนเมือง (เฉพาะแขวงสนามบิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตดอนเมือง (ยกเว้นแขวงสนามบิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตสายไหม
· เขตเลือกตั้งที่ 14 : เขตบางเขน
· เขตเลือกตั้งที่ 15 : เขตบางกะปิ
· เขตเลือกตั้งที่ 16 : เขตบึงกุ่มและเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงรามอินทรา)
· เขตเลือกตั้งที่ 17 : เขตมีนบุรีและเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงคันนายาว)
· เขตเลือกตั้งที่ 18 : เขตคลองสามวา
· เขตเลือกตั้งที่ 19 : เขตหนองจอก
· เขตเลือกตั้งที่ 20 : เขตลาดกระบัง
· เขตเลือกตั้งที่ 21 : เขตสะพานสูงและเขตประเวศ (ยกเว้นแขวงหนองบอนและแขวงดอกไม้)
· เขตเลือกตั้งที่ 22 : เขตสวนหลวงและเขตประเวศ (เฉพาะแขวงหนองบอนและแขวงดอกไม้)
· เขตเลือกตั้งที่ 23 : เขตพระโขนงและเขตบางนา
· เขตเลือกตั้งที่ 24 : เขตธนบุรี (ยกเว้นแขวงดาวคะนอง) และเขตคลองสาน
· เขตเลือกตั้งที่ 25 : เขตจอมทองและเขตธนบุรี (เฉพาะแขวงดาวคะนอง)
· เขตเลือกตั้งที่ 26 : เขตราษฎร์บูรณะและเขตทุ่งครุ
· เขตเลือกตั้งที่ 27 : เขตบางขุนเทียน
· เขตเลือกตั้งที่ 28 : เขตบางบอนและเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองแขม)
· เขตเลือกตั้งที่ 29 : เขตทวีวัฒนาและเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองค้างพลู)
· เขตเลือกตั้งที่ 30 : เขตบางแค
· เขตเลือกตั้งที่ 31 : เขตภาษีเจริญและเขตบางกอกใหญ่
· เขตเลือกตั้งที่ 32 : เขตตลิ่งชันและเขตบางกอกน้อย (เฉพาะแขวงบ้านช่างหล่อและแขวงบางขุนศรี)
· เขตเลือกตั้งที่ 33 : เขตบางพลัดและเขตบางกอกน้อย (ยกเว้นแขวงบ้านช่างหล่อและแขวงบางขุนศรี)
33 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตพระนคร, เขตสัมพันธวงศ์, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต (ยกเว้นแขวงนครไชยศรี)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสาทร
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตบางคอแหลมและเขตยานนาวา
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตคลองเตยและเขตวัฒนา
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวางและเขตดินแดง
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตราชเทวี, เขตพญาไท และเขตจตุจักร (เฉพาะแขวงจตุจักรและแขวงจอมพล)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางซื่อและเขตดุสิต (เฉพาะแขวงถนนนครไชยศรี)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตลาดพร้าวและเขตวังทองหลาง (ยกเว้นแขวงพลับพลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตหลักสี่และเขตจตุจักร (ยกเว้นแขวงจตุจักรและแขวงจอมพล)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตดอนเมือง
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตสายไหม
· เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตบางเขน
· เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตบางกะปิและเขตวังทองหลาง (เฉพาะแขวงพลับพลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 14 : เขตบึงกุ่มและเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงรามอินทรา)
· เขตเลือกตั้งที่ 15 : เขตมีนบุรีและเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงคันนายาว)
· เขตเลือกตั้งที่ 16 : เขตคลองสามวา
· เขตเลือกตั้งที่ 17 : เขตหนองจอก
· เขตเลือกตั้งที่ 18 : เขตลาดกระบัง
· เขตเลือกตั้งที่ 19 : เขตสะพานสูงและเขตประเวศ (เฉพาะแขวงประเวศ)
· เขตเลือกตั้งที่ 20 : เขตสวนหลวงและเขตประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ)
· เขตเลือกตั้งที่ 21 : เขตพระโขนงและเขตบางนา
· เขตเลือกตั้งที่ 22 : เขตบางกอกใหญ่ เขตคลองสาน และเขตธนบุรี (ยกเว้นแขวงดาวคะนอง แขวงบุคคโล และแขวงสำเหร่)
· เขตเลือกตั้งที่ 23 : เขตจอมทองและเขตธนบุรี (เฉพาะแขวงดาวคะนอง แขวงบุคคโล และแขวงสำเหร่)
· เขตเลือกตั้งที่ 24 : เขตราษฎร์บูรณะและเขตทุ่งครุ
· เขตเลือกตั้งที่ 25 : เขตบางขุนเทียน
· เขตเลือกตั้งที่ 26 : เขตบางบอนและเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองแขม)
· เขตเลือกตั้งที่ 27 : เขตทวีวัฒนา, เขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองค้างพลู) และเขตตลิ่งชัน (เฉพาะแขวงฉิมพลีและแขวงตลิ่งชัน)
· เขตเลือกตั้งที่ 28 : เขตบางแค
· เขตเลือกตั้งที่ 29 : เขตภาษีเจริญและเขตตลิ่งชัน (ยกเว้นแขวงฉิมพลีและแขวงตลิ่งชัน)
· เขตเลือกตั้งที่ 30 : เขตบางกอกน้อยและเขตบางพลัด
30 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 11; พ.ศ. 2518

      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518
1 พันเอก ประกอบ ประยูรโภคราช
นายประทวน รมยานนท์
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
2 นายวีระ มุสิกพงศ์
นายดำรง ลัทธพิพัฒน์
นายสมบุญ ศิริธร
3 นายพิชัย รัตตกุล
นายยวด เลิศฤทธิ์
นายเล็ก นานา
4 นายณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม
นายประยูรศักดิ์ ชลายนเดชะ
นายแนบ ผ่องแผ้ว
5 นายสิงห์โต จ่างตระกูล
นายวิชิต วิเศษสุวรรณภูมิ
นายเจริญ คันธวงศ์
6 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
นายสมัคร สุนทรเวช
นายพิภพ อะสีติรัตน์
7 นางพรรณทิพา วัชโรบล
นายเปลื้อง ณ นคร
พลเรือเอก หลวงชลธารพฤติไกร
8 พลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ
นายทอง ธนกาญจน์
นายธาดา สงวนพงษ์
9 นายสุดจิตต์ จำปีทอง
นายเสริมชาติ ยามะรัตน์

ชุดที่ 12; พ.ศ. 2519

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 นายสมัคร สุนทรเวช
พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
นายประเทศ รมยานนท์
2 นายวีระ มุสิกพงศ์
นายดำรง ลัทธพิพัฒน์
นายสมบุญ ศิริธร
3 นายเล็ก นานา
นายพิชัย รัตตกุล
นายมยูร วิเศษกุล
4 นายประยูรศักดิ์ ชลายนเดชะ
นายณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม
นายแนบ ผ่องแผ้ว
5 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
นายพิภพ อะสีติรัตน์
นายกมล สมวิเชียร
6 นายนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์
นายทอง ธนกาญจน์
พันตำรวจเอก วัชรี อุทัยเฉลิม
7 นางพรรณทิพา วัชโรบล
นายอาคม สรสุชาติ
นายพิสิษฐ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
8 นายชนะ รุ่งแสง
นายบุญยิ่ง นันทาภิวัฒน์
นายสุชาติ อภัยวงศ์
9 นายสิงห์โต จ่างตระกูล
นายสนอง ตู้จินดา
10 นายเจริญ คันธวงศ์
นายวิชิต วิเศษสุวรรณภูมิ

ชุดที่ 13; พ.ศ. 2522

      พรรคประชากรไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522
1 นายสมัคร สุนทรเวช
นายบุญเทียม เขมาภิรัตน์
พลตรี ศิริ ถิรพัธน์
2 นายสนั่น ศิลปบรรเลง
นายสังข์ชัย คามพิทักษ์
นายชลินทร์ เผ่าวิบูล
3 ร้อยตำรวจตรี สมศักดิ์ โปษยานนท์
นายธาดา เต็มบุญเกียรติ
นางวนิดา กุลามไมดินเซท
4 นายวราพงษ์ พงษ์บริบูรณ์
นายสำอาง พ่วงรอด
นายประเคน รัตนพรรณา
5 นายสุมิตร สุนทรเวช
นายพิภพ อะสีติรัตน์
นางเย็นจิตร ระพีพัฒน์ ณ อยุธยา
6 พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์
นายเสรี โหสกุล
นายอภิชัย ตรังคิณีนาถ
7 นายวิจารณ์ ก้องสมุทร
นายมุลิก จันทเรมะ
นายปรีชา เอสก้า
8 นายสมชาติ ศรีพนา
นายเมธินทร์ พันธุ์บุบผา (เสียชีวิต)
พลเรือเอก สนธิ บุณยะชัย (แทนนายเมทินทร์)
นายบูรณะศักดิ์ เทพาคำ
9 นายณรงค์ บุญสิทธิ์
นายเชิดชัย เพชรพันธ์
นายบุญช่วย สังข์รัศมี
10 นายชัยทิพย์ น่วมทนง (เสียชีวิต)
นายปลิว ม่วงศิริ (แทนนายชัยทิพย์)
นายวัชระ ประภาพัฒน์
นายพิศาล ไชยชาญ
11 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
นายเกษม ศิริสัมพันธ์

ชุดที่ 14–15; พ.ศ. 2526–2529

      พรรคประชากรไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคมวลชน
เขต ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529
1 นายสมัคร สุนทรเวช
นายชูเกียรติ ประมวลผล นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
พลโท จิตรพล ณ ลำปาง
2 นายมารุต บุนนาค
หม่อมหลวงเสรี ปราโมช พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา
พลเรือตรี สนอง นิสาลักษณ์ (เสียชีวิต) นายเกษม ศิริสัมพันธ์
พลเอก หาญ ลีลานนท์ (แทนพลเรือตรี สนอง)
3 นายสนั่น ศิลปบรรเลง ร้อยโท ชวลิต เตชะไพบูลย์
นายจารุตม์ จารุประกร (ลาออก) เรืออากาศตรี ฉลาด วรฉัตร (ลาออก)
นายคณิน บุญสุวรรณ (แทนนายจารุตม์) นายบุญเทียม เขมาภิรัตน์ (แทนเรืออากาศตรี ฉลาด)
นายชลินทร์ เผ่าวิบูล นายเดโช สวนานนท์
4 นายพิชัย รัตตกุล
นายเล็ก นานา นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์
นายอาคม สรสุชาติ นายมงคล กิมสูนจันทร์
5 นายดำรง ลัทธพิพัฒน์ (เสียชีวิต) นายพิจิตต รัตตกุล
นายพิจิตต รัตตกุล (แทนนายดำรง)
นายบุญเทียม เขมาภิรัตน์ นายปรีดา กนกนาค
คุณหญิงกนก สามเสน วิล นายเปี่ยม ลิ่มทอง
6 นายรังสฤษดิ์ เชาวน์ศิริ นายเจริญ คันธวงศ์
นายโอฬาริก พยัคฆาภรณ์ นายวิชิต วิเศษสุวรรณภูมิ
นายสุรศักดิ์ เชาว์วิศิษฐ นายมานพ ธนสุกาญจน์
7 พลอากาศโท น้อย ปาณิกบุตร พลอากาศโท วิจิตร ศิริกุล
นายสัญญา สถิรบุตร
นายเศรณี จินวาลา พันเอก ประจักษ์ สว่างจิตร
8 นางเย็นจิตร ระพีพัฒน์ ณ อยุธยา
นายสุมิตร สุนทรเวช นายศุภชัย พานิชภักดิ์
นายพิภพ อะสีติรัตน์
9 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช พลเอก หาญ ลีลานนท์
พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา นายปราโมทย์ สุขุม
นายเกษม ศิริสัมพันธ์ นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์
10 นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมย์ขวัญ นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล
นายเฉลียว วัชรพุกก์ นายประเสริฐ ม่วงศิริ
นายพีรพันธ์ ตุงคะสวัสดิ์ นายปกิต พัฒนกุล
11 พลเรือเอก สนธิ บุณยะชัย พลเรือตรี กุมุท กมลนาวิน
นายอุส่าห์ สระมาลา
นายพิศาล ไชยชาญ นายสุวัฒน์ นิงสานนท์
12 ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง
นายปลิว ม่วงศิริ (เสียชีวิต) นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมย์ขวัญ
พลเรือเอก สมบูรณ์ เชื้อพิบูลย์ (แทนนายปลิว)
นายวัชระ ประภาพัฒน์

ชุดที่ 16; พ.ศ. 2531

      พรรคประชากรไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังธรรม
      พรรคมวลชน
เขต ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531
1 นายสมัคร สุนทรเวช
นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
พลโท จิตรพล ณ ลำปาง
2 พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (ลาออก)
นายสุเทพ อัตถากร (แทนพลอากาศเอกสิทธิ)
นายมารุต บุนนาค
นายสุเทพ วงศ์กำแหง
3 นายบุญเทียม เขมาภิรัตน์
นายประวิช รัตนเพียร
นายทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์
4 นายมงคล กิมสูนจันทร์
นายสมาน ใจปราณี
นายพิศาล ไชยชาญ
5 นายอุดมศิลป์ ศรีแสงนาม
นายอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
นายพิจิตต รัตตกุล
6 นายพิชัย รัตตกุล
นายประพันธ์ หุตะสิงห์
นายเจริญ คันธวงศ์
7 นางเย็นจิตร ระพีพัฒน์ ณ อยุธยา
นายธำรงค์ แสงสุริยจันทร์
นายเชษฐ์ เชาว์วิศิษฐ
8 พลเรือเอกศิริ ศิริรังษี
นายพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์
นายปราโมทย์ สุขุม
9 นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล
นายประเสริฐ ม่วงศิริ
นายปกิต พัฒนกุล
10 นายอุส่าห์ สระมาลา
นายมานะศักดิ์ อินทรโกมาลย์สุต
นายสุวัฒน์ นิงสานนท์
11 ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง
นายวัชระ ประภาพัฒน์
นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
12 นายสัญญา สถิรบุตร
นายสมุทร มงคลกิติ
13 นายสุมิตร สุนทรเวช
นางปวีณา หงสกุล

ชุดที่ 17–18; พ.ศ. 2535

      พรรคประชากรไทย
      พรรคพลังธรรม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคมวลชนพรรคกิจสังคม
เขต ชุดที่ 17 เดือน มีนาคม 2535 ชุดที่ 18 เดือน กันยายน 2535
1 นายสมัคร สุนทรเวช
พันเอก วินัย สมพงษ์
นางลลิตา ฤกษ์สำราญ นายอากร ฮุนตระกูล (ลาออก)
นางลลิตา ฤกษ์สำราญ (แทนนายอากร)
2 พลตรี จำลอง ศรีเมือง
นายสุเทพ อัตถากร
นายเรืองวิทย์ ดุษฎีสุรพจน์ นายมารุต บุนนาค
3 นายทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์
นางเครือวัลย์ สมณะ
นายสมุทร มงคลกิตติ
4 พลเรือเอก ดิลก ภัทรโกศล นายสาวิตต์ โพธิวิหค
นายปัญญา สุดสวงค์ นายอรรคพล สรสุชาติ
นายวิทยา วิเศษรัตน์ นายปรีชา สุวรรณทัต
5 นายอุดมศิลป์ ศรีแสงนาม
นายอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
นายสุทิน นพเกตุ
6 นายประพันธ์ หุตะสิงห์ นายเจริญ คันธวงศ์
พลตรี ฤกษ์ดี ชาติอุทิศ นายสมเกียรติ ฉันทวานิช
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
7 พันเอก ชินวุธ สุนทรสีมะ
นายธำรงค์ แสงสุริยจันทร์
นายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ นางสาวสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
8 พลเรือเอกศิริ ศิริรังษี นายปราโมทย์ สุขุม
นายพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์ นายสมพงษ์ สู่ศุภอรรถ
9 นายเธียร มโนหรทัต
นายถวิล ไพรสณฑ์
นายสมพัฒน์ กัลยาวินัย
10 พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ
นายเสริม หลักสุวรรณ นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ
นายธเนศร์ พรพิพัฒน์พงศ์
11 นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
นายสุธา ชันแสง ร้อยตำรวจเอกเฉลิม อยู่บำรุง
นายแสวง ฤกษ์จรัล
12 นายกระแส ชนะวงศ์
นางสาวสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ นางปวีณา หงสกุล
นายสุธน ชื่นสมจิตต์ พลตรี สมบัติ รอดโพธิ์ทอง

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

      พรรคประชากรไทย
      พรรคพลังธรรม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคมวลชน
      พรรคมวลชนพรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายสมัคร สุนทรเวช
นายเดโช สวนานนท์ นายธวัชชัย สัจจกุล
นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
2 พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายมารุต บุนนาค
นายศุภชัย พานิชภักดิ์
นางสาวอรทัย กาญจนชูศักดิ์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
3 นายทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ นายอาทิตย์ อุไรรัตน์
นายพีระพงศ์ สาคริก นายสาวิตต์ โพธิวิหค
นายสมุทร มงคลกิตติ นายนพดล ปัทมะ
4 นายธรรมนูญ ประจวบเหมาะ นายอรรคพล สรสุชาติ
นางสาวศันสนีย์ นาคพงศ์ นายปรีชา สุวรรณทัต
นายภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์ นายวิชัย ตันศิริ
5 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายสุทิน นพเกตุ นายธารินทร์ นิมมานเหมินท์
นายสุธรรม แสงประทุม นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
6 นายพิชัย รัตตกุล
นายเจริญ คันธวงศ์
นายกันตธีร์ ศุภมงคล นายสมเกียรติ ฉันทวานิช
7 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
นายประชา คุณะเกษม นายทิวา เงินยวง
นายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ นายสืบแสง พรหมบุญ
8 นายพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์ นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
นายปราโมทย์ สุขุม
9 นายถวิล ไพรสณฑ์ นายถวิล ไพรสณฑ์
นายประเสริฐ ม่วงศิริ นายเธียร มโนหรทัต
นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล นางสาวรัตนา อนันต์นาคินทร์
10 นายอุส่าห์ สระมาลา นายจักรพันธุ์ ยมจินดา
นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง นายประกอบ จิรกิติ
นายปิติพงษ์ เต็มเจริญ นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
11 ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง
พลตำรวจตรีสินสมุทร มุกดาหาร นายสิทธิพร ขำอาจ
นายโกวิทย์ ธารณา
12 นางปวีณา หงสกุล นางปวีณา หงสกุล
นายสุมิตร สุนทรเวช
นายห้างทอง ธรรมวัฒนะ
13 นายสมัย เจริญช่าง
นายเสรี พัฒนพันธ์ชัย นายสุขวิช รังสิตพล

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544[2] ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548[3]
1 นายศิริ หวังบุญเกิด นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ
2 นายกฤษฎา สัจจกุล
3 นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
4 นางกรรณิกา ธรรมเกษร ร้อยเอก รชฏ พิสิษฐบรรณกร
นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ (แทนนางกรรณิกา)
5 นายประจวบ อึ๊งภากรณ์
6 หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล
7 นายเจริญ คันธวงศ์ นายกรณ์ จาติกวณิช
8 นายสมเกียรติ ฉันทวานิช นายพงษ์พิสุทธิ์ จินตโสภณ
9 นาวาอากาศตรี ศิธา ทิวารี
10 นายอิสรา สุนทรวัฒน์ นางสาวณหทัย ทิวไผ่งาม
11 นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค นายยุรนันท์ ภมรมนตรี
12 นายเฉลิมชัย จีนะวิจารณะ
13 นางสาวศุภมาศ อิศรภักดี
14 หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล นางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์
15 นาวาอากาศโท รวยลาภ เอี่ยมทอง นางปวีณา หงสกุล
16 นายอนุสรณ์ ปั้นทอง
17 นายประมณฑ์ คุณะเกษม
18 นางสาวภูวนิดา คุนผลิน
19 นายพิมล ศรีวิกรม์
20 นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์
21 นายธวัชชัย สัจจกุล นายเอกพจน์ วงศ์อารยะ
22 นายภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์
23 นางสาวศันสนีย์ นาคพงศ์
24 นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
25 นายมงคล กิมสูนจันทร์
26 นายวิชาญ มีนชัยนันท์
27 นายเอนก หุตังคบดี
28 นายปราโมทย์ สุขุม นางสาวศิลัมพา เลิศนุวัฒน์
29 นายภิมุข สิมะโรจน์
30 นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
31 นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ
32 นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ นายมานะ คงวุฒิปัญญา
33 นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ
34 นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล
35 นายสากล ม่วงศิริ
36 นายสุธา ชันแสง
37 นายแสวง ฤกษ์จรัล

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550[4][5]
1 หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล
นางสาวอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์
นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ
2 นายกรณ์ จาติกวาณิช
นายสมเกียรติ ฉันทวานิช (พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล)
นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน (แทนนายสมเกียรติ)
นายอนุชา บูรพชัยศรี
3 นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
นายธนา ชีรวินิจ
นายสรรเสริญ สมะลาภา
4 นายบุญยอด สุขถิ่นไทย
นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี
นายสกลธี ภัททิยกุล
5 นายอนุสรณ์ ปั้นทอง
นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ
นายการุณ โหสกุล
6 นายสมัย เจริญช่าง
นายทิวา เงินยวง (เสียชีวิต)
นายพนิช วิกิตเศรษฐ์ (แทนนายทิวา)
นายไพโรจน์ อิสรเสรีพงษ์
7 นายดนุพร ปุณณกันต์
นายวิชาญ มีนชัยนันท์
นางนาถยา เบ็ญจศิริวรรณ
8 คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
นายสามารถ มะลูลีม
นายสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์
9 นางนันทพร วีรกุลสุนทร
นายสุรันต์ จันทร์พิทักษ์
นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
10 นายถวิล ไพรสณฑ์
นายสากล ม่วงศิริ
นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ (แทนนายสุวัฒน์)
11 นางอรอนงค์ คล้ายนก
นายโกวิทย์ ธารณา
นายสุธา ชันแสง (ลาออก)
นายวัชระ เพชรทอง (แทนนายสุธา)
12 นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
นายชนินทร์ รุ่งแสง
นางสาวรัชดา ธนาดิเรก

ชุดที่ 24; พ.ศ. 2554

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
2554
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554
1 นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ
2 นางสาวอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์
3 หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล
4 นายอนุชา บูรพชัยศรี
5 นางสาวลีลาวดี วัชโรบล
6 นายธนา ชีรวินิจ
7 นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
8 นายสรรเสริญ สมะลาภา
9 นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี
10 นายชื่นชอบ คงอุดม
11 นายสุรชาติ เทียนทอง
12 นายการุณ โหสกุล (พ้นสภาพตามคำพิพากษาของศาลฯ)
นายแทนคุณ จิตต์อิสระ (แทนนายการุณ)
13 นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ
14 นายอนุสรณ์ ปั้นทอง
15 นายณัฎฐ์ บรรทัดฐาน
16 นายพลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ
17 นายวิชาญ มีนชัยนันท์
18 นายจิรายุ ห่วงทรัพย์
19 นายไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์
20 นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์
21 นางนาถยา เบ็ญจศิริวรรณ
22 นายสามารถ มะลูลีม
23 นายสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์
24 นายสุรันต์ จันทร์พิทักษ์
25 นางนันทพร วีรกุลสุนทร
26 นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
27 นายสากล ม่วงศิริ
28 พันตำรวจเอก สามารถ ม่วงศิริ
29 นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
30 นายอรอนงค์ คล้ายนก
31 นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
32 นายชนินทร์ รุ่งแสง
33 นางสาวรัชดา ธนาดิเรก

รูปภาพ

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔, เล่ม ๑๒๘, ตอน ๑๙ก, ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔, หน้า ๒๙
  2. รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21
  3. รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22
  4. รัฐสภาไทย,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23
  5. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง (ครั้งที่ ๔),เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๑๐ ก, ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๒, หน้า ๒๔

ดูเพิ่ม