ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดเลย
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต4
คะแนนเสียง165,728 (เพื่อไทย)
50,314 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (3)
ภูมิใจไทย (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดเลย มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 4 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดเลยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายบุญมา เสริฐศรี

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2518 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอเชียงคาน, อำเภอท่าลี่, อำเภอภูเรือ, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว และกิ่งอำเภอภูหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังสะพุง, อำเภอปากชม, อำเภอภูกระดึง, กิ่งอำเภอผาขาว และกิ่งอำเภอนาด้วง
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอเชียงคาน, อำเภอท่าลี่, อำเภอภูเรือ, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว และกิ่งอำเภอภูหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังสะพุง, อำเภอปากชม, อำเภอภูกระดึง, อำเภอนาด้วง และกิ่งอำเภอผาขาว
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอเชียงคาน, อำเภอท่าลี่, อำเภอภูเรือ, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว และอำเภอภูหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังสะพุง, อำเภอปากชม, อำเภอภูกระดึง, อำเภอนาด้วง และกิ่งอำเภอผาขาว
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอเชียงคาน, อำเภอท่าลี่, อำเภอภูเรือ, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว และอำเภอภูหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังสะพุง, อำเภอปากชม, อำเภอภูกระดึง, อำเภอนาด้วง, อำเภอผาขาว และกิ่งอำเภอเอราวัณ
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอนาด้วง (เฉพาะตำบลท่าสะอาดและตำบลท่าสวรรค์) และกิ่งอำเภอเอราวัณ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอภูหลวง, อำเภอภูกระดึง, อำเภอผาขาว, อำเภอวังสะพุง (เฉพาะตำบลผาบิ้ง ตำบลหนองหญ้าปล้อง และตำบลโคกขมิ้น) และกิ่งอำเภอหนองหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาแห้ว, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอภูเรือ และอำเภอวังสะพุง (ยกเว้นตำบลผาบิ้ง ตำบลหนองหญ้าปล้อง และตำบลโคกขมิ้น)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอท่าลี่, อำเภอเชียงคาน, อำเภอปากชม และอำเภอนาด้วง (เฉพาะตำบลนาด้วงและตำบลนาดอกคำ)
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอเชียงคาน, อำเภอท่าลี่, อำเภอภูเรือ, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว และอำเภอภูหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวังสะพุง, อำเภอปากชม, อำเภอภูกระดึง, อำเภอนาด้วง, อำเภอผาขาว, อำเภอเอราวัณ และอำเภอหนองหิน
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอท่าลี่ และอำเภอภูเรือ (เฉพาะตำบลสานตมและตำบลท่าศาลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอภูกระดึง, อำเภอภูหลวง, อำเภอหนองหิน, อำเภอผาขาว และอำเภอวังสะพุง (เฉพาะตำบลหนองหญ้าปล้อง ตำบลผาบิ้ง และตำบลโคกขมิ้น)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาแห้ว, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอภูเรือ (ยกเว้นตำบลสานตมและตำบลท่าศาลา) และอำเภอวังสะพุง (ยกเว้นตำบลหนองหญ้าปล้อง ตำบลผาบิ้ง และตำบลโคกขมิ้น)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเชียงคาน, อำเภอปากชม, อำเภอนาด้วง และอำเภอเอราวัณ
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลย, อำเภอปากชม, อำเภอนาด้วง และอำเภอเอราวัณ (เฉพาะตำบลเอราวัณและตำบลผาอินทร์แปลง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอภูกระดึง, อำเภอภูหลวง, อำเภอหนองหิน, อำเภอผาขาว, อำเภอวังสะพุง (ยกเว้นตำบลหนองงิ้ว ตำบลเขาหลวง ตำบลทรายขาว และตำบลปากปวน) และอำเภอเอราวัณ (เฉพาะตำบลทรัพย์ไพวัลย์และตำบลผาสามยอด)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาแห้ว, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอภูเรือ, อำเภอท่าลี่, อำเภอเชียงคาน และอำเภอวังสะพุง (เฉพาะตำบลหนองงิ้ว ตำบลเขาหลวง ตำบลทรายขาว และตำบลปากปวน)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเลยและอำเภอเอราวัณ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอผาขาว, อำเภอภูกระดึง, อำเภอภูหลวง, อำเภอหนองหิน และอำเภอวังสะพุง (เฉพาะตำบลโคกขมิ้น ตำบลหนองหญ้าปล้อง และตำบลศรีสงคราม)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอนาแห้ว, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอภูเรือ และอำเภอวังสะพุง (ยกเว้นตำบลโคกขมิ้น ตำบลหนองหญ้าปล้อง และตำบลศรีสงคราม)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอท่าลี่, อำเภอเชียงคาน, อำเภอปากชม และอำเภอนาด้วง
4 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2492

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายบุญมา เสริฐศรี
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายเฉลิม ศรีประเสริฐ
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 พระยาศรีนครชัย (ประวงษ์ อมาตยกุล)
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 ร้อยตำรวจโท สงกรานต์ อุดมสิทธิ์
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายทองหนัก สุวรรณสิงห์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายมา เสริฐศรี (ชื่อเดิม บุญมา)
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 ร้อยตำรวจตรี สัมฤทธิ์ อินทรตระกูล

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

[แก้]
      พรรคเสรีประชาธิปไตย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายบัวพัน ไชยแสง
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นางเอื้ออารี อุดมสิทธิ์

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

[แก้]
      พรรคอิสระ
      พรรคประชาชน (พ.ศ. 2511)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายประชา บุณยเนตร นายสะดวก เชื้อบุญมี

ชุดที่ 11–15; พ.ศ. 2518–2529

[แก้]
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาธิปไตย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายปรีชา เพ็ชรสิงห์ นายประดิษฐ์ เสริฐศรี นายชาญยุทธ สุทธิรักษ์
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 พันตำรวจเอก กฤช สังขทรัพย์ นายประชา บุณยเนตร นายวัชรินทร์ เกตะวันดี
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 พันตำรวจเอก กฤช สังขทรัพย์ (เสียชีวิต) นายสะดวก เชื้อบุญมี
นายทศพล สังขทรัพย์ (แทนพันตำรวจเอก กฤช)
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายทศพล สังขทรัพย์ นายวัชรินทร์ เกตะวันดี
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข นายประชา บุณยเนตร

ชุดที่ 16–20; พ.ศ. 2531–2539

[แก้]
      พรรคปวงชนชาวไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก นายประชา บุณยเนตร นายพินิจ สิทธิโห นายทศพล สังขทรัพย์
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก นายวัชรินทร์ เกตะวันดี นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายสมศักดิ์ แสงเจริญรัตน์ นายพินิจ สิทธิโห
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นางพวงเพ็ชร ชุนละเอียด นายธนเทพ ทิมสุวรรณ

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคเสรีธรรมพรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายทศพล สังขทรัพย์
2 นายธนเทพ ทิมสุวรรณ นางนันทนา ทิมสุวรรณ
3 นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
( / เลือกตั้งใหม่)
นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
4 นายสุวิชญ์ โยทองยศ นางจันทร์เพ็ญ แสงเจริญรัตน์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
นางพัฒนา สังขทรัพย์
2 นางนันทนา ทิมสุวรรณ
นางเปล่งมณี เร่งสมบูรณ์สุข

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข นายเลิศศักดิ์ พัฒนชัยกุล
2 นางนันทนา ทิมสุวรรณ นายศรัณย์ ทิมสุวรรณ
3 นางเปล่งมณี เร่งสมบูรณ์สุข นายธนยศ ทิมสุวรรณ
4 นายวันชัย บุษบา ยุบเขต 4 นายสมเจตน์ แสงเจริญรัตน์

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]