ดาวโรหิณี
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ดาวอัลดิบาแรน)
ข้อมูลสังเกตการณ์ ต้นยุคอ้างอิง J2000.0 วิษุวัต J2000.0 | |
---|---|
กลุ่มดาว | วัว |
ไรต์แอสเซนชัน | 04h 35m 55.2s |
เดคลิเนชัน | +16° 30' 33" |
ความส่องสว่างปรากฏ (V) | +0.85 / +13.50 |
คุณสมบัติ | |
ชนิดสเปกตรัม | K5III / M2V |
ดัชนีสี U-B | 1.90 / ? |
ดัชนีสี B-V | 1.54 / ? |
ชนิดดาวแปรแสง | Suspected / ? |
มาตรดาราศาสตร์ | |
ความเร็วแนวเล็ง (Rv) | +53.8 km/s |
การเคลื่อนที่เฉพาะ (μ) | RA: 62.78 mas/yr Dec.: −189.36 mas/yr |
พารัลแลกซ์ (π) | 50.09 ± 0.95 mas |
ระยะทาง | 65 ± 1 ly (20.0 ± 0.4 pc) |
ความส่องสว่างสัมบูรณ์ (MV) | −0.63 / 11.98 |
รายละเอียด | |
มวล | 2.5 / 0.15 M☉ |
รัศมี | 44.2 [1] / 0.04 R☉ |
กำลังส่องสว่าง | 350 [2] / 0.00014 L☉ |
อุณหภูมิ | 4,100 / 3,050 K |
ค่าความเป็นโลหะ | 70% Sun / ? |
ชื่ออื่น | |
ฐานข้อมูลอ้างอิงอื่น | |
SIMBAD | data |
ดาวโรหิณี หรือ ดาวอัลดิบาแรน (อังกฤษ: Aldebaran; ชื่ออื่น: α Tau, α Tauri, Alpha Tauri) เป็นดาวฤกษ์สว่างที่สุดในกลุ่มดาววัว และเป็นหนึ่งในดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดบนท้องฟ้ายามค่ำคืน เนื่องจากตำแหน่งของดาวอยู่บริเวณส่วนหัวของกลุ่มดาว ในอดีตจึงมีที่เรียกชื่อดาวนี้ว่า ดาวตาวัว ดาวอัลดิบาแรนเป็นดาวที่มีความสว่างมากที่สุดในบริเวณกระจุกดาวไฮดีส (Hyades) ซึ่งเป็นกระจุกดาวที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด ยานอวกาศไพโอเนียร์ 10 ขององค์การนาซาที่เดินทางผ่านดาวพฤหัสบดีเมื่อปี ค.ศ. 1973 จะเดินทางไปถึงผ่านดาวอัลดิบาแรนในประมาณอีก 2 ล้านปีข้างหน้า