ด็อกซิลามีน
หน้าตา
บทความนี้ได้รับแจ้งว่ามีแต่กล่องข้อมูลและมีเนื้อหาน้อยมากหรือไม่มีเนื้อหาเลย โปรดช่วยปรับปรุงบทความ ด้วยการขยายความเพิ่มเติม เพื่อให้บทความน่าอ่านยิ่งขึ้น หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ในหน้าอภิปราย |
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
ช่องทางการรับยา | Oral |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย | |
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | Oral: 24.7%, Intranasal: 70.8% [1] |
การเปลี่ยนแปลงยา | Hepatic |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | variable; 6–12 hours |
การขับออก | Urine (primarily as metabolites) |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
ECHA InfoCard | 100.006.742 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C17H22N2O |
มวลต่อโมล | 270.369 g/mol g·mol−1 |
ด็อกซิลามีน (อังกฤษ: Doxylamine)
เป็นยาต้านฮีสตามีน (Antihistamine drug) ในรุ่นที่หนึ่งหรือจะเรียกว่าเป็นยากลุ่มแอนตี้มัสคารินิก (Antimuscarinic drug) ก็ได้ โดยนำมารักษาอาการโรคภูมิแพ้ในปี ค.ศ. 1949 (พ.ศ. 2492) ได้มีรายงานทางคลินิกว่า ยาดอกซีลามีนถูกใช้เป็นยาช่วยให้นอนหลับโดยใช้ยานี้ในระยะเวลาสั้นๆ นอกจากนี้ยังมีบางสูตรตำรับยาที่นำยานี้ไปผสมร่วมกับยาแก้ปวดเช่น Paracetamol และ Codeine ด้วยทางคลินิกจัดให้ยาดอกซีลามีนมีความปลอดภัยต่อทารกในครรภ์ แพทย์จึงใช้ยาดอกซีลามีนร่วมกับวิตามินบี 6 จ่ายให้สตรีตั้งครรภ์เพื่อบรรเทาอาการแพ้ท้องในช่วงเวลาเช้ามืด