พาราคว็อท
ชื่อ | |
---|---|
Preferred IUPAC name
1,1′-Dimethyl[4,4′-bipyridine]-1,1′-diium dichloride | |
ชื่ออื่น
Paraquat dichloride; Methyl viologen dichloride; MVCl2; Crisquat; Dexuron; Esgram; Gramuron; Ortho Paraquat CL; Para-col; Pillarxone; Tota-col; Toxer Total; PP148; Cyclone; Gramixel; Gramoxone; Pathclear; AH 501; Bai Cao Ku.
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.016.015 |
ผับเคม CID
|
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C12H14Cl2N2 | |
มวลโมเลกุล | 257.16 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | Yellow solid[1] |
กลิ่น | faint, ammonia-like[1] |
ความหนาแน่น | 1.25 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว | 175 ถึง 180 องศาเซลเซียส (347 ถึง 356 องศาฟาเรนไฮต์; 448 ถึง 453 เคลวิน)[2] |
จุดเดือด | > 300 องศาเซลเซียส (572 องศาฟาเรนไฮต์; 573 เคลวิน)[2] |
สูง | |
ความดันไอ | <0.0000001 mmHg (20 °C)[1] |
ความอันตราย | |
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |
อันตรายหลัก
|
Toxic, environmental hazard |
GHS labelling: | |
H301, H311, H315, H319, H330, H335, H372, H410[3] | |
P260, P273, P280, P284, P301+P310, P305+P351+P338 | |
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |
LD50 (median dose)
|
57 mg/kg (rat, oral) 120 mg/kg (mouse, oral) 25 mg/kg (dog, oral) 22 mg/kg (guinea pig, oral)[4] |
LC50 (median concentration)
|
3 mg/m3 (mouse, 30 min respirable dust) 3 mg/m3 (guinea pig, 30 min respirable dust)[4] |
LCLo (lowest published)
|
1 mg/m3 (rat, respirable dust, 6 h) 6400 mg/m3 (rat, nonrespirable dust, 4 h)[4] |
NIOSH (US health exposure limits): | |
PEL (Permissible)
|
TWA 0.5 mg/m3 (resp) [skin][1] |
REL (Recommended)
|
TWA 0.1 mg/m3 (resp) [skin][1] |
IDLH (Immediate danger)
|
1 mg/m3[1] |
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | Aldrich MSDS |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
พาราคว็อท (อังกฤษ: Paraquat) เป็นชื่อการค้าของ N,N′-ไดเมทิลl-4,4′-ไบไพริดิเนียม ไดคลอไรด์ เป็นยากำจัดวัชพืชชนิดหนึ่งที่เป็นที่นิยมที่สุดในโลก ถูกสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1882 แต่ถูกนำมาใช้กำจัดวัชพืชครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1955 [5] ผลิตจำหน่ายครั้งแรกในปี ค.ศ. 1961 โดยบริษัท ไอซีไอ ปัจจุบันทำการตลาดโดยบริษัท ซินเจนทา [6] พาราคว็อทเป็นพิษต่อมนุษย์และสัตว์ จากปฏิกิริยารีด็อกส์ ที่ทำให้เกิดซูเปอร์ออกไซด์ พาราคว็อทมีความสัมพันธ์กับโรคพาร์กินสัน[7][8] และถูกแบนในหลายประเทศ
ในประเทศไทย พาราคว็อทเป็นที่รู้จักในชื่อการค้า กรัมม็อกโซน (Grammoxone) [9] เป็นยาฆ่าวัชพืชที่นิยมใช้ที่สุดในประเทศไทย [10]
พาราคว็อทออกฤทธิ์โดยหยุดยั้งการเติบโตของเซลวัชพืช เฉพาะส่วนที่เป็นสีเขียว และทำให้เนื้อเยื่อของเซลนั้นแห้งลง โดยไม่แพร่กระจายเข้าสู่เนื้อเยื่อไม้ [9] สามารถใช้ได้กับพืชผลหลายชนิด ทั้งไม้ต้นสูงและพืชพันธุ์เตี้ย
ในทางพิษวิทยา พาราคว็อทจะก่อให้เกิดอาการระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อที่สัมผัส ผิวหนังเป็นแผลพุพอง หากสัมผัสกับตาจะทำให้ตาบวมแดงอักเสบ ประสิทธิภาพในการมองเห็นลดลง หากบริโภคจะทำให้เกิดอาการระคายเคืองลำคอ ปอด และหายใจไม่ออก และส่งผลต่อสภาวะการทำงานของตับ [10]
ในประเทศโลกที่สาม นิยมใช้พาราคว็อทเป็นยาพิษสำหรับการฆ่าตัวตาย [11] เนื่องจากเป็นสารพิษที่มีจำหน่ายทั่วไป ราคาไม่แพง และไม่จำเป็นต้องใช้ในปริมาณมาก
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0478". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ 2.0 2.1 "Paraquat dichloride". International Programme on Chemical Safety. October 2001. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-19. สืบค้นเมื่อ 2007-09-06.
- ↑ Sigma-Aldrich Co., 1,1′-Dimethyl-4,4′-bipyridinium dichloride hydrate. Retrieved on 2015-03-29.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 "Paraquat". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ Paraquat Fact Sheet เก็บถาวร 2010-02-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน an excerpt from an article published by Pesticides News No.32, June 1996, p20-21
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-03-08. สืบค้นเมื่อ 2010-05-26.
- ↑ "Two pesticides—rotenone and paraquat—linked to Parkinson's disease, study suggests". Science Daily. 2011. สืบค้นเมื่อ October 25, 2011.
- ↑ Kamel, F. (2013). "Paths from Pesticides to Parkinson's" (Submitted manuscript). Science. 341 (6147): 722–723. doi:10.1126/science.1243619. PMID 23950519.
- ↑ 9.0 9.1 "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-01-17. สืบค้นเมื่อ 2010-05-26.
- ↑ 10.0 10.1 chemtrack.org
- ↑ Dinham, B. 1996: Active Ingredient fact sheet, Paraquat, in: PAN UK: Pesticide News No. 32, p. 20-1: [1] เก็บถาวร 2010-02-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, 24.06.2003