มิโซะ
หน้าตา
มิโซะ | |
ชื่ออื่น | เต้าเจี้ยวญี่ปุ่น |
---|---|
ประเภท | เครื่องปรุงรส |
แหล่งกำเนิด | ญี่ปุ่น |
ส่วนผสมหลัก | ถั่วเหลืองหมัก, เกลือ, โคจิ (Aspergillus oryzae) |
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์) | |
---|---|
พลังงาน | 831 กิโลจูล (199 กิโลแคลอรี) |
26.47 | |
น้ำตาล | 6.2 |
ใยอาหาร | 5.4 |
6.01 | |
อิ่มตัว | 1.139 |
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว | 1.242 |
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่ | 3.204 |
11.69 | |
ทริปโตเฟน | 0.155 g |
ทรีโอนีน | 0.479 g |
ไอโซลิวซีน | 0.508 g |
ลิวซีน | 0.82 g |
ไลซีน | 0.478 g |
เมไธโอนีน | 0.129 g |
ซิสตีน | 0 g |
ฟีนิลอะลานีน | 0.486 g |
ไทโรซีน | 0.352 g |
วาลีน | 0.547 g |
อาร์จินีน | 0.784 g |
ฮิสทิดีน | 0.243 g |
อะลานีน | 0.5 g |
กรดแอสปาร์ติก | 1.171 g |
กลูตาเมต | 1.915 g |
ไกลซีน | 0.447 g |
โพรลีน | 0.619 g |
ซีรีน | 0.601 g |
วิตามิน | |
วิตามินเอ | (1%) 4 μg(0%) 52 μg0 μg |
ไทอามีน (บี1) | (9%) 0.098 มก. |
ไรโบเฟลวิน (บี2) | (19%) 0.233 มก. |
ไนอาซิน (บี3) | (6%) 0.906 มก. |
(7%) 0.337 มก. | |
วิตามินบี6 | (15%) 0.199 มก. |
โฟเลต (บี9) | (5%) 19 μg |
วิตามินบี12 | (3%) 0.08 μg |
คลอรีน | (15%) 72.2 มก. |
วิตามินซี | (0%) 0 มก. |
วิตามินดี | (0%) 0 IU |
วิตามินอี | (0%) 0.01 มก. |
วิตามินเค | (28%) 29.3 μg |
แร่ธาตุ | |
แคลเซียม | (6%) 57 มก. |
เหล็ก | (19%) 2.49 มก. |
แมกนีเซียม | (14%) 48 มก. |
แมงกานีส | (41%) 0.859 มก. |
ฟอสฟอรัส | (23%) 159 มก. |
โพแทสเซียม | (4%) 210 มก. |
โซเดียม | (249%) 3728 มก. |
สังกะสี | (27%) 2.56 มก. |
องค์ประกอบอื่น | |
น้ำ | 50 |
แอลกอฮอล์ (เอธานอล) | 0 |
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่ แหล่งที่มา: USDA FoodData Central |
มิโซะ (ญี่ปุ่น: みそ หรือ 味噌; โรมาจิ: miso) เป็นผลิตภัณฑ์อาหารญี่ปุ่น หมักจากข้าว ข้าวบาร์เลย์ หรือถั่วเหลืองกับเกลือและราโคจิกิง (ญี่ปุ่น: 麹菌) ซึ่งมิโซะส่วนมากจะเป็นมิโซะจากถั่วเหลือง มีลักษณะนิ่ม (paste) รสเค็ม และมีกลิ่นคล้ายเนื้อ มีโปรตีนสูง มีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีน้ำตาลเข้ม มักนำมาประกอบอาหาร ทำซุปโดยละลายมิโซะในน้ำ เติมผัก เต้าหู้ เห็ดหรือสาหร่าย หรือทำเป็นเครื่องจิ้มปรุงรส สำหรับอาหารประเภทเนื้อ ปลา หอยและผัก[1]
อ้างอิง
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ มิโซะ