ข้ามไปเนื้อหา

มุสลิมสายกลาง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อิสลามสายกลาง (อังกฤษ: Moderate Islam) และ มุสลิมสายกลาง (moderate muslim) เป็นคำเรียกปัจจัย "เป็นกลาง" ของมุสลิมที่ปฏิเสธความรุนแรงสุดขั้ว เช่น การก่อการร้ายอิสลาม, ญิฮาดิซึมทางทหาร และอิสลามหัวรุนแรง[1]

การเป็นกลางในศาสนาอิสลาม หรือ อิสลามสายกลาง ก็เป็นคำที่มีการตีความจากคำว่าวะซะตียะฮ์หรือวะซัต (เส้นกลาง, กลาง, ทรงตัว, ดีที่สุด) เช่นเดียวกันกับคำว่า อิกติศอด (اقتصاد) (ทางที่ถูกต้อง, ทางสายกลาง, ซื่อสัตย์, วิธีที่เป็นจริง[2])และ ก็อศด์ (قصد) คำนี้ในอัลกุรอาน เป็นตัวอย่างที่อธิบายสังคมมุสลิม:[2][3][4]

และในทำนองเดียวกัน เราได้ให้พวกเจ้าเป็นประชาชาติที่เป็นกลาง เพื่อพวกเจ้าจะได้เป็นสักขีพยานแก่มนุษย์ทั้งหลาย...

ประเทศมุสลิมซุนนี 11 ประเทศส่วนใหญ่มีความเห็นแง่ลบมากต่อรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์[5] การรับรู้ที่เป็นกลางเป็นสิ่งทั่วไปของมุสลิมในโลกตะวันตก เช่น ยูโรอิสลาม สำหรับมุสลิมในสหรัฐ ร้อยละ 82 (ค.ศ. 2017) กังวลเกี่ยวกับมุสลิมหัวรุนแรงทั่วโลก[6] ร้อยละ 81 เชื่อว่าไม่สามารถให้ความเป็นธรรมแก่การระเบิดฆ่าตัวตาย และร้อยละ 48 เชื่อว่าผู้นำมุสลิมไม่สามารถหลีกเลี่ยงความรุนแรงดีพอ (ค.ศ. 2011)[7]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Khan, ed., M. A. Muqtedar (2007). Debating Moderate Islam: The Geopolitics of Islam and the West. Salt Lake City, UT: University of Utah Press. {{cite book}}: |last1= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  2. 2.0 2.1 Kamali, Mohammad Hashim (2015). The Middle Path of Moderation in Islam: The Qurʼānic Principle of Wasaṭiyyah (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. ISBN 978-0-19-022683-1.
  3. Moderation in Islam: In the Contex[t] of Muslim Community in Singapore : a Compilation of Working Papers Presented in the PERGAS Ulama Convention 2003, Held on 13th and 14th September 2003, which Carried the Theme of Moderation in Islam (ภาษาอังกฤษ). PERGAS. 2004. ISBN 9789810510329.
  4. Hashem, Ahmad Omar (1999). Moderation in Islam (ภาษาอังกฤษ). United Printing Publishing and Distributing. p. 177.
  5. "Views of ISIS Topline". Pew Research Center's Global Attitudes Project (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2015-11-17. สืบค้นเมื่อ 2019-08-22.
  6. "U.S. Muslims are concerned about extremism in name of Islam". Pew Research Center (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2019-08-22.
  7. "Muslim Americans: No Signs of Growth in Alienation or Support for Extremism". Pew Research Center for the People and the Press (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2011-08-30. สืบค้นเมื่อ 2019-08-22.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]