ข้ามไปเนื้อหา

วิธีใช้:สูตรคณิตศาสตร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การแทรกสูตรคณิตศาสตร์ เป็นคุณลักษณะหนึ่งที่มีในมีเดียวิกิ ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ระบบของวิกิพีเดีย สูตรคณิตศาสตร์ดังกล่าวใช้ประโยชน์จากภาษามาร์กอัป TeX รวมทั้งส่วนขยายบางส่วนจาก LaTeX และ AMS-LaTeX ซึ่งจะแสดงผลเป็นรูปภาพ PNG หรือภาษามาร์กอัป HTML อย่างง่าย ขึ้นกับการตั้งค่าของผู้ใช้และความซับซ้อนของนิพจน์ ในอนาคตเมื่อเบราว์เซอร์ต่าง ๆ ฉลาดขึ้น มันจะสามารถสร้าง HTML ขั้นสูงหรือแม้แต่ MathML ได้ในหลายกรณี

ไม่เพียงแค่สูตรคณิตศาสตร์เท่านั้น คุณลักษณะนี้ยังสามารถใช้สร้างสูตรเคมีหรือสูตรการคำนวณอื่น ๆ ได้เช่นกัน

ในทางเทคนิค

[แก้]

วากยสัมพันธ์

[แก้]

มาร์กอัปของสูตรคณิตศาสตร์จะเขียนไว้ระหว่างแท็ก <math>...</math> หรือคลิกปุ่ม บนแถบเครื่องมือก็จะได้รหัสนี้ออกมา

ช่องว่างและการขึ้นบรรทัดใหม่ที่ปรากฏอยู่ภายในแท็กจะถูกละทิ้ง เช่นเดียวกับ HTML หากต้องการเว้นวรรค ดูที่หัวข้อการเว้นวรรค

รหัส TeX นั้นจะแสดงผลตามค่าที่ป้อนเข้าไปอย่างตรงตัว นั่นคือแม่แบบและพารามิเตอร์ต่าง ๆ จะไม่สามารถใช้ได้ภายในแท็ก วงเล็บปีกกาคู่จะถูกละทิ้งและ "#" จะทำให้เกิดข้อผิดพลาด

การแสดงผล

[แก้]

ปกติรูปภาพ PNG ที่สร้างจะปรากฏเป็นอักษรสีดำบนพื้นสีขาว (ไม่ใช่พื้นหลังใส) สีเหล่านี้ไม่ขึ้นอยู่กับการตั้งค่าเบราว์เซอร์หรือ CSS เช่นเดียวกับขนาดและชนิดของฟอนต์ เนื่องจากการตั้งค่าหรือ CSS จะให้ผลเฉพาะเมื่อแสดงผลเป็น HTML เท่านั้น สีของตัวอักษรบนรูปภาพสามารถเปลี่ยนได้โดยใช้คำสั่ง \color ดูที่การเติมสีอักษร

ข้อความที่ปรากฏในแอตทริบิวต์ alt ของรูปภาพ PNG จะเป็นรหัสที่ใส่เข้ามาระหว่างแท็ก <math>...</math> จะเห็นได้เมื่อเบราว์เซอร์ของคุณไม่สามารถแสดงรูปภาพ ซึ่งอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์จะแสดงไว้ในกล่องภาพเลย

ตัวอักษรที่ใส่ลงในสูตรคณิตศาสตร์จะกลายเป็นตัวเอน ซึ่งเป็นธรรมเนียมทางคณิตศาสตร์สำหรับชื่อตัวแปร เพื่อให้แยกแยะออกจากชื่อฟังก์ชันหรือตัวดำเนินการต่าง ๆ ในขณะที่ตัวเลขจะเป็นตัวตั้งตรง เพื่อหลีกเลี่ยงการแสดงผลข้อความอย่างอื่นที่เป็นตัวเอนเหมือนกับตัวแปร ให้ใช้คำสั่ง \text \mbox หรือ \mathrm ตัวอย่างเช่นรหัส <math>\text{abc}</math> จะให้ผลเป็น คำสั่งนี้ไม่สามารถใช้ได้กับอักขระพิเศษรวมทั้งอักษรไทย ซึ่งจะถูกละทิ้งถ้าหากไม่ได้แสดงผลเป็น HTML

  • HTML: <math>\text {abcdefghijklmnopqrstuvwxyzàáâãäåæçèéêëìíîïðñòóôõö÷øùúûüýþÿ}</math>
  • PNG: <math>\text {abcdefghijklmnopqrstuvwxyzàáâãäåæçèéêëìíîïðñòóôõö÷øùúûüýþÿ}\,</math>

จะให้ผลเป็น

  • HTML:
  • PNG:

TeX กับ HTML

[แก้]

ก่อนที่จะแนะนำถึงไวยากรณ์ของ TeX สิ่งหนึ่งที่ควรทราบคือการเปรียบเทียบระหว่าง TeX กับ HTML ซึ่งบางครั้งผลลัพธ์อย่างเดียวกันสามารถเขียนให้สำเร็จได้ด้วยรหัสพิเศษของ HTML ตามตารางดังนี้

รูปแบบ TeX
(บังคับให้แสดงผลเป็น PNG)
การแสดงผล TeX รูปแบบ HTML การแสดงผล HTML
<math>\alpha\,</math> &alpha; α
<math>\sqrt{2}</math> &radic;2 √2
<math>\sqrt{1-e^2}</math> &radic;(1&minus;''e''&sup2;) √(1 − e²)

ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นรหัสพิเศษบางส่วนของ HTML อยู่ทางซ้าย ซึ่งจะแสดงผลเป็นสัญลักษณ์ทางขวา อย่างไรก็ตามสามารถใส่สัญลักษณ์ได้โดยตรงในเนื้อหา (ยกเว้น {{=}} ในกรณีที่ต้องใช้เครื่องหมายเท่ากับใส่ลงในแม่แบบอื่น)

&alpha; &beta; &gamma; &delta; &epsilon; &zeta;
&eta; &theta; &iota; &kappa; &lambda; &mu; &nu;
&xi; &omicron; &pi; &rho;  &sigma; &sigmaf;
&tau; &upsilon; &phi; &chi; &psi; &omega;
&Gamma; &Delta; &Theta; &Lambda; &Xi; &Pi;
&Sigma; &Phi; &Psi; &Omega;

α β γ δ ε ζ
η θ ι κ λ μ ν
ξ ο π ρ σ ς
τ υ φ χ ψ ω
Γ Δ Θ Λ Ξ Π
Σ Φ Ψ Ω

&int; &sum; &prod; &radic; &minus; &plusmn; &infty;
&approx; &prop; {{=}} &equiv; &ne; &le; &ge; 
&times; &middot; &divide; &part; &prime; &Prime;
&nabla; &permil; &deg; &there4; &Oslash; &oslash;
&isin; &notin; 
&cap; &cup; &sub; &sup; &sube; &supe;
&not; &and; &or; &exist; &forall; 
&rArr; &hArr; &rarr; &harr; &uarr; 
&alefsym; - &ndash; &mdash; 

∫ ∑ ∏ √ − ± ∞
≈ ∝ = ≡ ≠ ≤ ≥
× · ÷ ∂ ′ ″
∇ ‰ ° ∴ Ø ø
∈ ∉ ∩ ∪ ⊂ ⊃ ⊆ ⊇
¬ ∧ ∨ ∃ ∀
⇒ ⇔ → ↔ ↑
ℵ - – —

การใช้ HTML แทนที่จะเป็น TeX นั้นยังคงเป็นประเด็นให้อภิปราย ซึ่งส่วนหนึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้

ข้อดีของ HTML

[แก้]
  1. สูตรคณิตศาสตร์แบบ HTML ที่เขียนอยู่ในบรรทัดเดียวกัน สามารถจัดตำแหน่งให้ตรงกับข้อความ HTML อื่น ๆ รอบข้างได้เสมอ
  2. สีพื้นหลัง ขนาดอักษร และแบบอักษรเข้ากันได้กับเนื้อหา HTML อื่น ๆ และสามารถจัดรูปแบบด้วย CSS ได้
  3. หน้าที่ใช้ HTML โหลดได้เร็วกว่า และใช้พื้นที่เก็บแคชน้อยกว่า
  4. สูตรที่เขียนเป็น HTML สามารถเข้าถึงได้ด้วยสคริปต์
  5. แม่แบบใด ๆ ที่ใช้ในสูตรคณิตศาสตร์สามารถปรับเปลี่ยนได้ง่ายในคราวเดียว ไม่ต้องทำเองทั้งหมด
  6. ในรหัส HTML สามารถระบุความหมายเบื้องต้นได้หากต้องการ ในขณะที่ TeX ไม่สามารถทำได้ เช่น ''i'' หมายถึงหน่วยจินตภาพ ส่วน <var>i</var> หมายถึงตัวแปรดัชนี

ข้อดีของ TeX

[แก้]
  1. TeX มีความหมายในตัวมันเองนอกเหนือไปจาก HTML เช่น <math>x</math> ใน TeX หมายความว่า "ตัวแปร x ทางคณิตศาสตร์" ในขณะที่ x ใน HTML สามารถหมายถึงอะไรก็ได้ ทำให้ความหมายถูกลดทอนลงไป
  2. แต่ในทางกลับกัน ถ้ากำหนดให้เป็น <var>x</var> ก็จะมีความหมายว่าเป็นตัวแปรได้เช่นกัน แสดงผลเป็น x เหมือนกัน แต่ก็จะทำให้ยุ่งยากในการเขียนสูตร สิ่งเหล่านี้ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของผู้แก้ไข เนื่องด้วยผู้อ่านมีมากกว่าผู้เขียน
  3. TeX ถูกออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับการเขียนสูตรคณิตศาสตร์ ดังนั้นการป้อนค่าก็จะทำได้ง่ายกว่า และการแสดงผลก็ออกมาอย่างเหมาะสมสวยงาม
  4. TeX สามารถแปลงสูตรให้เป็น HTML ได้ แต่ HTML ไม่สามารถแปลงให้เป็น TeX ได้ นั่นหมายความว่าทางฝั่งแม่ข่ายสามารถแปลงไวยากรณ์ให้ออกมาเป็นสูตรสูตรหนึ่งได้เสมอ ซึ่งขึ้นอยู่กับความซับซ้อนและตำแหน่งในข้อความ การตั้งค่าผู้ใช้ ประเภทของเว็บเบราว์เซอร์ เป็นต้น ดังนั้นข้อดีของ HTML จึงเป็นส่วนหนึ่งของ TeX ด้วย
  5. TeX สามารถแปลงสูตรให้เป็น MathML สำหรับเว็บเบราว์เซอร์ที่รองรับได้ โดยยังคงไว้ซึ่งความหมายและสามารถแสดงผลได้ในรูปภาพเวกเตอร์
  6. การเขียนด้วยรูปแบบ TeX ผู้ใช้ไม่ต้องกังวลว่ารุ่นของเว็บเบราว์เซอร์ของตนจะรองรับอักขระพิเศษหรือรหัสพิเศษของ HTML หรือไม่ การเลือกตัดสินใจเพื่อรูปแบบการแสดงผลเป็นหน้าที่ของซอฟต์แวร์ ซึ่งสิ่งนี้ไม่มีในสูตรที่เขียนด้วย HTML ที่อาจจะทำให้การแสดงผลไม่เป็นไปตามที่ผู้เขียนคาดหวังเมื่อเปิดดูจากเว็บเบราว์เซอร์อื่น
  7. ฟอนต์เซริฟที่กำหนดให้แสดงผลสำหรับ TeX แบบข้อความ อาจไม่มีอักขระบางตัวที่สำคัญในแบบอักษรนั้น เว็บเบราว์เซอร์ส่วนใหญ่จะเลือกอักขระจากฟอนต์อื่นตามความเหมาะสม
  8. TeX เป็นภาษาจัดรูปแบบข้อความที่เป็นที่นิยมของนักคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ และวิศวกรผู้เชี่ยวชาญส่วนมาก ง่ายต่อการชักชวนผู้เชี่ยวชาญเหล่านั้นเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปรับปรุงโดยใช้ TeX

ฟังก์ชัน สัญลักษณ์ และอักขระพิเศษ

[แก้]

เครื่องหมายเสริมอักษร

[แก้]
\dot{a}, \ddot{a}, \acute{a}, \grave{a}
\check{a}, \breve{a}, \tilde{a}, \bar{a}
\hat{a}, \widehat{a}, \vec{a} , \underset{^\sim}{a}

ฟังก์ชันมาตรฐาน

[แก้]
\exp_a b = a^b, \exp b = e^b, 10^m
\ln c, \lg d = \log e, \log_{10} f
\sin a, \cos b, \tan c, \cot d, \sec e, \csc f
\arcsin h, \arccos i, \arctan j
\sinh k, \cosh l, \tanh m, \coth n
\operatorname{sh}\,k, \operatorname{ch}\,l, \operatorname{th}\,m, \operatorname{coth}\,n
\operatorname{argsh}\,o, \operatorname{argch}\,p, \operatorname{argth}\,q
\sgn r, \left\vert s \right\vert

ขอบเขต

[แก้]
\min x, \max y, \inf s, \sup t
\lim u, \liminf v, \limsup w
\dim p, \deg q, \det m, \ker\phi

การฉายมิติ

[แก้]
\Pr j, \hom l, \lVert z \rVert, \arg z

อนุพันธ์และปริพันธ์

[แก้]
dt, \operatorname{d}t, \partial t, \nabla\psi
\operatorname{d}y/\operatorname{d}x, {\operatorname{d}y\over\operatorname{d}x}, {\partial^2\over\partial x_1\partial x_2}y
\prime, \backprime, f^\prime, f', f'', f^{(3)}, \dot y, \ddot y

สัญลักษณ์คล้ายอักษรและค่าคงตัว

[แก้]
\infty, \alef, \complement, \backepsilon, \eth, \Finv, \hbar
\Im, \imath, \jmath, \Bbbk, \ell, \mho, \wp, \Re, \circledS

เลขคณิตมอดุลาร์

[แก้]
s_k \equiv 0 \pmod{m}
a\,\bmod\,b
\gcd(m, n), \operatorname{lcm}(m, n)
\mid, \nmid, \shortmid, \nshortmid

ราก

[แก้]
\surd, \sqrt{2}, \sqrt[n]{}, \sqrt[3]{x^3+y^3 \over 2}

ตัวดำเนินการ

[แก้]
+, -, \pm, \mp, \dotplus
\times, \div, \divideontimes, /, \backslash
\cdot, * \ast, \star, \circ, \bullet
\boxplus, \boxminus, \boxtimes, \boxdot
\oplus, \ominus, \otimes, \oslash, \odot
\circleddash, \circledcirc, \circledast
\bigoplus, \bigotimes, \bigodot

เซต

[แก้]
\{ \}, \O \empty \emptyset, \varnothing
\in, \notin \not\in, \ni, \not\ni
\cap, \Cap, \sqcap, \bigcap, \setminus, \smallsetminus
\cup, \Cup, \sqcup, \bigcup, \bigsqcup, \uplus, \biguplus
\subset, \Subset, \sqsubset
\supset, \Supset, \sqsupset
\subseteq, \nsubseteq, \subsetneq, \varsubsetneq, \sqsubseteq
\supseteq, \nsupseteq, \supsetneq, \varsupsetneq, \sqsupseteq
\subseteqq, \nsubseteqq, \subsetneqq, \varsubsetneqq
\supseteqq, \nsupseteqq, \supsetneqq, \varsupsetneqq

ความสัมพันธ์

[แก้]
=, \ne \neq, \equiv, \not\equiv
\doteq, \overset{\underset{\mathrm{def}}{}}{=}, :=
\sim, \nsim, \backsim, \thicksim, \simeq, \backsimeq, \eqsim, \cong, \ncong, \overset{a}{\sim}
\approx, \thickapprox, \approxeq, \asymp, \propto, \varpropto
<, \nless, \ll, \not\ll, \lll, \not\lll, \lessdot
>, \ngtr, \gg, \not\gg, \ggg, \not\ggg, \gtrdot
\le \leq, \lneq, \leqq, \nleqq, \lneqq, \lvertneqq
\ge \geq, \gneq, \geqq, \ngeqq, \gneqq, \gvertneqq
\lessgtr \lesseqgtr \lesseqqgtr \gtrless \gtreqless \gtreqqless
\leqslant, \nleqslant, \eqslantless
\geqslant, \ngeqslant, \eqslantgtr
\lesssim, \lnsim, \lessapprox, \lnapprox
\gtrsim, \gnsim, \gtrapprox, \gnapprox
\prec, \nprec, \preceq, \npreceq, \precneqq
\succ, \nsucc, \succeq, \nsucceq, \succneqq
\preccurlyeq, \curlyeqprec
\succcurlyeq, \curlyeqsucc
\precsim, \precnsim, \precapprox, \precnapprox
\succsim, \succnsim, \succapprox, \succnapprox

เรขาคณิต

[แก้]
\parallel, \nparallel, \shortparallel, \nshortparallel
\perp, \angle, \sphericalangle, \measuredangle, 45^\circ
\Box, \blacksquare, \diamond, \Diamond \lozenge, \blacklozenge, \bigstar
\bigcirc, \triangle \bigtriangleup, \bigtriangledown
\vartriangle, \triangledown
\blacktriangle, \blacktriangledown, \blacktriangleleft, \blacktriangleright

ตรรกศาสตร์

[แก้]
\forall, \exists, \nexists
\therefore, \because, \And
\or \lor \vee, \curlyvee, \bigvee
\and \land \wedge, \curlywedge, \bigwedge
\bar{q}, \overline{q}, \lnot \neg, \not\operatorname{R}, \bot, \top
\vdash \dashv, \vDash, \Vdash, \models
\Vvdash \nvdash \nVdash \nvDash \nVDash
\ulcorner \urcorner \llcorner \lrcorner

ลูกศร

[แก้]
\Rrightarrow, \Lleftarrow
\Rightarrow, \nRightarrow, \Longrightarrow \implies
\Leftarrow, \nLeftarrow, \Longleftarrow
\Leftrightarrow, \nLeftrightarrow, \Longleftrightarrow \iff
\Uparrow, \Downarrow, \Updownarrow
\rightarrow \to, \nrightarrow, \longrightarrow
\leftarrow \gets, \nleftarrow, \longleftarrow
\leftrightarrow, \nleftrightarrow, \longleftrightarrow
\uparrow, \downarrow, \updownarrow
\nearrow, \swarrow, \nwarrow, \searrow
\mapsto, \longmapsto
\rightharpoonup \rightharpoondown \leftharpoonup \leftharpoondown \upharpoonleft \upharpoonright \downharpoonleft \downharpoonright \rightleftharpoons \leftrightharpoons
\curvearrowleft \circlearrowleft \Lsh \upuparrows \rightrightarrows \rightleftarrows \rightarrowtail \looparrowright
\curvearrowright \circlearrowright \Rsh \downdownarrows \leftleftarrows \leftrightarrows \leftarrowtail \looparrowleft
\hookrightarrow \hookleftarrow \multimap \leftrightsquigarrow \rightsquigarrow \twoheadrightarrow \twoheadleftarrow

พิเศษ

[แก้]
\amalg \P \S \% \dagger \ddagger \ldots \cdots
\smile \frown \wr \triangleleft \triangleright
\diamondsuit, \heartsuit, \clubsuit, \spadesuit, \Game, \flat, \natural, \sharp

ยังไม่จัดกลุ่ม (เพิ่มเข้ามาใหม่)

[แก้]
\diagup \diagdown \centerdot \ltimes \rtimes \leftthreetimes \rightthreetimes
\eqcirc \circeq \triangleq \bumpeq \Bumpeq \doteqdot \risingdotseq \fallingdotseq
\intercal \barwedge \veebar \doublebarwedge \between \pitchfork
\vartriangleleft \ntriangleleft \vartriangleright \ntriangleright
\trianglelefteq \ntrianglelefteq \trianglerighteq \ntrianglerighteq

สำหรับความหมายของสัญลักษณ์เหล่านี้ ดูบทสังเขปได้ที่ TeX Cookbook

นิพจน์ขนาดใหญ่

[แก้]

ตัวยก ตัวห้อย และปริพันธ์

[แก้]
คุณลักษณะ รูปแบบ การแสดงผล
HTML PNG
ตัวยก a^2
ตัวห้อย a_2
จัดกลุ่ม a^{2+2}
a_{i,j}
รวมตัวยกกับตัวห้อย แบบไม่มีการแยกและมีการแยก x_2^3
{x_2}^3
ตัวยกสองชั้น 10^{10^{ \,\!{8} }
ตัวยกสองชั้น 10^{10^{ \overset{8}{} }}
ตัวยกสองชั้น (แสดงผล HTML ผิดในบางเบราว์เซอร์) 10^{10^8}
การใส่ตัวยกและตัวห้อย นำหน้าและตามหลัง \sideset{_1^2}{_3^4}\prod_a^b
{}_1^2\!\Omega_3^4
การซ้อนบนและล่าง \overset{\alpha}{\omega}
\underset{\alpha}{\omega}
\overset{\alpha}{\underset{\gamma}{\omega}}
\stackrel{\alpha}{\omega}
อนุพันธ์ (บังคับให้แสดงผลเป็น PNG) x', y'', f', f''\!  
อนุพันธ์ (f ตัวเอนซ้อนทับกับไพรม์ใน HTML) x', y'', f', f''
อนุพันธ์ (แสดงผลผิดใน HTML) x^\prime, y^{\prime\prime}
อนุพันธ์ (แสดงผลผิดใน PNG) x\prime, y\prime\prime
อนุพันธ์แบบจุด \dot{x}, \ddot{x}
เส้นใต้ เส้นเหนือ และเวกเตอร์ \hat a \ \bar b \ \vec c
\overrightarrow{a b} \ \overleftarrow{c d} \ \widehat{d e f}
\overline{g h i} \ \underline{j k l}
ลูกศร A \xleftarrow{n+\mu-1} B \xrightarrow[T]{n\pm i-1} C
วงเล็บปีกกาคลุมบน \overbrace{ 1+2+\cdots+100 }^{5050}
วงเล็บปีกกาคลุมล่าง \underbrace{ a+b+\cdots+z }_{26}
ผลรวม \sum_{k=1}^N k^2
ผลรวม (บังคับให้แสดงผลด้วย \textstyle) \textstyle \sum_{k=1}^N k^2
ผลคูณ \prod_{i=1}^N x_i
ผลคูณ (บังคับให้แสดงผลด้วย \textstyle) \textstyle \prod_{i=1}^N x_i
ผลคูณร่วม \coprod_{i=1}^N x_i
ผลคูณร่วม (บังคับให้แสดงผลด้วย \textstyle) \textstyle \coprod_{i=1}^N x_i
ลิมิต \lim_{n \to \infty}x_n
ลิมิต (บังคับให้แสดงผลด้วย \textstyle) \textstyle \lim_{n \to \infty}x_n
ปริพันธ์ \int\limits_{1}^{3}\frac{e^3/x}{x^2}\, dx
ปริพันธ์ (อีกรูปแบบหนึ่ง) \int_{1}^{3}\frac{e^3/x}{x^2}\, dx
ปริพันธ์ (บังคับให้แสดงผลด้วย \textstyle) \textstyle \int\limits_{-N}^{N} e^x\, dx
ปริพันธ์ (อีกรูปแบบหนึ่ง บังคับให้แสดงผลด้วย \textstyle) \textstyle \int_{-N}^{N} e^x\, dx
ปริพันธ์สองชั้น \iint\limits_D \, dx\,dy
ปริพันธ์สามชั้น \iiint\limits_E \, dx\,dy\,dz
ปริพันธ์สี่ชั้น \iiiint\limits_F \, dx\,dy\,dz\,dt
ปริพันธ์ตามเส้นหรือตามวิถี \int_C x^3\, dx + 4y^2\, dy
ปริพันธ์ตามเส้นหรือตามวิถีแบบปิด \oint_C x^3\, dx + 4y^2\, dy
อินเตอร์เซกชัน \bigcap_1^n p
ยูเนียน \bigcup_1^k p

เศษส่วน เมทริกซ์ และการเขียนหลายบรรทัด

[แก้]
คุณลักษณะ รูปแบบ การแสดงผล
เศษส่วน \frac{1}{2}=0.5
เศษส่วนขนาดเล็ก \tfrac{1}{2} = 0.5
เศษส่วนขนาดใหญ่ (ปกติ) \dfrac{k}{k-1} = 0.5 \qquad \dfrac{2}{c + \dfrac{2}{d + \dfrac{1}{2}}} = a
เศษส่วนขนาดใหญ่ (ซับซ้อน) \cfrac{2}{c + \cfrac{2}{d + \cfrac{1}{2}}} = a
สัมประสิทธิ์ทวินาม \binom{n}{k}
สัมประสิทธิ์ทวินามขนาดเล็ก \tbinom{n}{k}
สัมประสิทธิ์ทวินามขนาดใหญ่ (ปกติ) \dbinom{n}{k}
เมทริกซ์
\begin{matrix}
  x & y \\
  z & v 
\end{matrix}
\begin{vmatrix}
  x & y \\
  z & v 
\end{vmatrix}
\begin{Vmatrix}
  x & y \\
  z & v
\end{Vmatrix}
\begin{bmatrix}
  0      & \cdots & 0      \\
  \vdots & \ddots & \vdots \\ 
  0      & \cdots & 0
\end{bmatrix}
\begin{Bmatrix}
  x & y \\
  z & v
\end{Bmatrix}
\begin{pmatrix}
  x & y \\
  z & v 
\end{pmatrix}
\bigl( \begin{smallmatrix}
  a&b\\ c&d
\end{smallmatrix} \bigr)
การแยกกรณี
f(n) = 
\begin{cases} 
  n/2,  & \mbox{if }n\mbox{ is even} \\
  3n+1, & \mbox{if }n\mbox{ is odd} 
\end{cases}
สมการหลายบรรทัด
\begin{align}
 f(x) & = (a+b)^2 \\
      & = a^2+2ab+b^2 \\
\end{align}
\begin{alignat}{2}
 f(x) & = (a-b)^2 \\
      & = a^2-2ab+b^2 \\
\end{alignat}
\begin{array}{lcl}
  z        & = & a \\
  f(x,y,z) & = & x + y + z  
\end{array}
\begin{array}{lcr}
  z        & = & a \\
  f(x,y,z) & = & x + y + z     
\end{array}
การแบ่งนิพจน์ขนาดยาวออกเป็นส่วนเพื่อให้ตัดขึ้นบรรทัดใหม่

<math>f(x) \,\!</math>
<math>= \sum_{n=0}^\infty a_n x^n </math>
<math>= a_0+a_1x+a_2x^2+\cdots</math>

สมการหลายชั้น
\begin{cases}
    3x + 5y +  z \\
    7x - 2y + 4z \\
   -6x + 3y + 2z 
\end{cases}
แถวลำดับหรือตาราง
\begin{array}{|c|c||c|} a & b & S \\
\hline
0&0&1\\
0&1&1\\
1&0&1\\
1&1&0\\
\end{array}

วงเล็บและสัญลักษณ์ขอบเขตสำหรับนิพจน์ขนาดใหญ่

[แก้]
คุณลักษณะ รูปแบบ การแสดงผล
รูปแบบที่ไม่ดี ( \frac{1}{2} )
รูปแบบที่ดี \left ( \frac{1}{2} \right )

คุณสามารถใช้วงเล็บและสัญลักษณ์ขอบเขตหลายชนิดกับคำสั่ง \left และ \right ดังนี้

คุณลักษณะ รูปแบบ การแสดงผล
วงเล็บโค้ง \left ( \frac{a}{b} \right )
วงเล็บเหลี่ยม \left [ \frac{a}{b} \right ] \quad \left \lbrack \frac{a}{b} \right \rbrack
วงเล็บปีกกา \left \{ \frac{a}{b} \right \} \quad \left \lbrace \frac{a}{b} \right \rbrace
วงเล็บแหลม \left \langle \frac{a}{b} \right \rangle
ขีดตั้งและขีดตั้งคู่ \left | \frac{a}{b} \right \vert \left \Vert \frac{c}{d} \right \|
ฟังก์ชันพื้นและเพดาน \left \lfloor \frac{a}{b} \right \rfloor \left \lceil \frac{c}{d} \right \rceil
ทับและทับกลับหลัง \left / \frac{a}{b} \right \backslash
ลูกศรขึ้น ลง ขึ้นและลง \left \uparrow \frac{a}{b} \right \downarrow \quad \left \Uparrow \frac{a}{b} \right \Downarrow \quad \left \updownarrow \frac{a}{b} \right \Updownarrow
สัญลักษณ์ขอบเขตสามารถผสมกันได้ ตราบเท่าที่ \left และ \right ยังคงอยู่คู่กัน \left [ 0,1 \right )</code> <br/> <code>\left \langle \psi \right |
ใช้ \left. หรือ \right. ถ้าไม่ต้องการให้สัญลักษณ์ขอบเขตปรากฏ \left . \frac{A}{B} \right \} \to X
สัญลักษณ์ขอบเขตขนาดต่าง ๆ (ขนาดของสัญลักษณ์จะแปรเปลี่ยนไปตามความสูงที่เหมาะสมโดยปกติ) \big( \Big( \bigg( \Bigg( \dots \Bigg] \bigg] \Big] \big]/
\big\{ \Big\{ \bigg\{ \Bigg\{ \dots \Bigg\rangle \bigg\rangle \Big\rangle \big\rangle
\big\| \Big\| \bigg\| \Bigg\| \dots \Bigg| \bigg| \Big| \big|
\big\lfloor \Big\lfloor \bigg\lfloor \Bigg\lfloor \dots \Bigg\rceil \bigg\rceil \Big\rceil \big\rceil
\big\uparrow \Big\uparrow \bigg\uparrow \Bigg\uparrow \dots \Bigg\Downarrow \bigg\Downarrow \Big\Downarrow \big\Downarrow
\big\updownarrow \Big\updownarrow \bigg\updownarrow \Bigg\updownarrow \dots \Bigg\Updownarrow \bigg\Updownarrow \Big\Updownarrow \big\Updownarrow
\big / \Big / \bigg / \Bigg / \dots \Bigg\backslash \bigg\backslash \Big\backslash \big\backslash

อักษรและลักษณะ

[แก้]

ส่วนขยาย texvc ซึ่งใช้โดยมีเดียวิกิ ไม่สามารถแสดงผลอักขระยูนิโคดได้ ดังนั้นจึงมีการกำหนดอักษรบางชนิด (โดยเฉพาะอักษรกรีก) ให้สามารถใช้เขียนสูตรได้ใน TeX ส่วนอักขระอื่นที่นอกเหนือจากนี้ เช่นอักษรซีริลลิกหรืออักษรไทย ไม่สามารถใส่ในสูตรได้ แต่สามารถเขียนเป็นข้อความ HTML ธรรมดาไว้ข้างนอกสูตร

อักษรกรีก
\Alpha \Beta \Gamma \Delta \Epsilon \Zeta
\Eta \Theta \Iota \Kappa \Lambda \Mu
\Nu \Xi \Pi \Rho \Sigma \Tau
\Upsilon \Phi \Chi \Psi \Omega
\alpha \beta \gamma \delta \epsilon \zeta
\eta \theta \iota \kappa \lambda \mu
\nu \xi \pi \rho \sigma \tau
\upsilon \phi \chi \psi \omega
\varepsilon \digamma \vartheta \varkappa
\varpi \varrho \varsigma \varphi
อักษรแบบแบล็กบอร์ดโบลด์
\mathbb{A} \mathbb{B} \mathbb{C} \mathbb{D} \mathbb{E} \mathbb{F} \mathbb{G}
\mathbb{H} \mathbb{I} \mathbb{J} \mathbb{K} \mathbb{L} \mathbb{M}
\mathbb{N} \mathbb{O} \mathbb{P} \mathbb{Q} \mathbb{R} \mathbb{S} \mathbb{T}
\mathbb{U} \mathbb{V} \mathbb{W} \mathbb{X} \mathbb{Y} \mathbb{Z}
อักษรตัวหนา (เวกเตอร์)
\mathbf{A} \mathbf{B} \mathbf{C} \mathbf{D} \mathbf{E} \mathbf{F} \mathbf{G}
\mathbf{H} \mathbf{I} \mathbf{J} \mathbf{K} \mathbf{L} \mathbf{M}
\mathbf{N} \mathbf{O} \mathbf{P} \mathbf{Q} \mathbf{R} \mathbf{S} \mathbf{T}
\mathbf{U} \mathbf{V} \mathbf{W} \mathbf{X} \mathbf{Y} \mathbf{Z}
\mathbf{a} \mathbf{b} \mathbf{c} \mathbf{d} \mathbf{e} \mathbf{f} \mathbf{g}
\mathbf{h} \mathbf{i} \mathbf{j} \mathbf{k} \mathbf{l} \mathbf{m}
\mathbf{n} \mathbf{o} \mathbf{p} \mathbf{q} \mathbf{r} \mathbf{s} \mathbf{t}
\mathbf{u} \mathbf{v} \mathbf{w} \mathbf{x} \mathbf{y} \mathbf{z}
\mathbf{0} \mathbf{1} \mathbf{2} \mathbf{3} \mathbf{4}
\mathbf{5} \mathbf{6} \mathbf{7} \mathbf{8} \mathbf{9}
อักษรตัวหนา (อักษรกรีก)
\boldsymbol{\Alpha} \boldsymbol{\Beta} \boldsymbol{\Gamma} \boldsymbol{\Delta} \boldsymbol{\Epsilon} \boldsymbol{\Zeta}
\boldsymbol{\Eta} \boldsymbol{\Theta} \boldsymbol{\Iota} \boldsymbol{\Kappa} \boldsymbol{\Lambda} \boldsymbol{\Mu}
\boldsymbol{\Nu} \boldsymbol{\Xi} \boldsymbol{\Pi} \boldsymbol{\Rho} \boldsymbol{\Sigma} \boldsymbol{\Tau}
\boldsymbol{\Upsilon} \boldsymbol{\Phi} \boldsymbol{\Chi} \boldsymbol{\Psi} \boldsymbol{\Omega}
\boldsymbol{\alpha} \boldsymbol{\beta} \boldsymbol{\gamma} \boldsymbol{\delta} \boldsymbol{\epsilon} \boldsymbol{\zeta}
\boldsymbol{\eta} \boldsymbol{\theta} \boldsymbol{\iota} \boldsymbol{\kappa} \boldsymbol{\lambda} \boldsymbol{\mu}
\boldsymbol{\nu} \boldsymbol{\xi} \boldsymbol{\pi} \boldsymbol{\rho} \boldsymbol{\sigma} \boldsymbol{\tau}
\boldsymbol{\upsilon} \boldsymbol{\phi} \boldsymbol{\chi} \boldsymbol{\psi} \boldsymbol{\omega}
\boldsymbol{\varepsilon} \boldsymbol{\digamma} \boldsymbol{\vartheta} \boldsymbol{\varkappa}
\boldsymbol{\varpi} \boldsymbol{\varrho} \boldsymbol{\varsigma} \boldsymbol{\varphi}
อักษรตัวเอน
\mathit{A} \mathit{B} \mathit{C} \mathit{D} \mathit{E} \mathit{F} \mathit{G}
\mathit{H} \mathit{I} \mathit{J} \mathit{K} \mathit{L} \mathit{M}
\mathit{N} \mathit{O} \mathit{P} \mathit{Q} \mathit{R} \mathit{S} \mathit{T}
\mathit{U} \mathit{V} \mathit{W} \mathit{X} \mathit{Y} \mathit{Z}
\mathit{a} \mathit{b} \mathit{c} \mathit{d} \mathit{e} \mathit{f} \mathit{g}
\mathit{h} \mathit{i} \mathit{j} \mathit{k} \mathit{l} \mathit{m}
\mathit{n} \mathit{o} \mathit{p} \mathit{q} \mathit{r} \mathit{s} \mathit{t}
\mathit{u} \mathit{v} \mathit{w} \mathit{x} \mathit{y} \mathit{z}
\mathit{0} \mathit{1} \mathit{2} \mathit{3} \mathit{4}
\mathit{5} \mathit{6} \mathit{7} \mathit{8} \mathit{9}
ไทป์เฟซโรมัน (อักษรตัวตรง)
\mathrm{A} \mathrm{B} \mathrm{C} \mathrm{D} \mathrm{E} \mathrm{F} \mathrm{G}
\mathrm{H} \mathrm{I} \mathrm{J} \mathrm{K} \mathrm{L} \mathrm{M}
\mathrm{N} \mathrm{O} \mathrm{P} \mathrm{Q} \mathrm{R} \mathrm{S} \mathrm{T}
\mathrm{U} \mathrm{V} \mathrm{W} \mathrm{X} \mathrm{Y} \mathrm{Z}
\mathrm{a} \mathrm{b} \mathrm{c} \mathrm{d} \mathrm{e} \mathrm{f} \mathrm{g}
\mathrm{h} \mathrm{i} \mathrm{j} \mathrm{k} \mathrm{l} \mathrm{m}
\mathrm{n} \mathrm{o} \mathrm{p} \mathrm{q} \mathrm{r} \mathrm{s} \mathrm{t}
\mathrm{u} \mathrm{v} \mathrm{w} \mathrm{x} \mathrm{y} \mathrm{z}
\mathrm{0} \mathrm{1} \mathrm{2} \mathrm{3} \mathrm{4}
\mathrm{5} \mathrm{6} \mathrm{7} \mathrm{8} \mathrm{9}
ไทป์เฟซฟรักทัวร์
\mathfrak{A} \mathfrak{B} \mathfrak{C} \mathfrak{D} \mathfrak{E} \mathfrak{F} \mathfrak{G}
\mathfrak{H} \mathfrak{I} \mathfrak{J} \mathfrak{K} \mathfrak{L} \mathfrak{M}
\mathfrak{N} \mathfrak{O} \mathfrak{P} \mathfrak{Q} \mathfrak{R} \mathfrak{S} \mathfrak{T}
\mathfrak{U} \mathfrak{V} \mathfrak{W} \mathfrak{X} \mathfrak{Y} \mathfrak{Z}
\mathfrak{a} \mathfrak{b} \mathfrak{c} \mathfrak{d} \mathfrak{e} \mathfrak{f} \mathfrak{g}
\mathfrak{h} \mathfrak{i} \mathfrak{j} \mathfrak{k} \mathfrak{l} \mathfrak{m}
\mathfrak{n} \mathfrak{o} \mathfrak{p} \mathfrak{q} \mathfrak{r} \mathfrak{s} \mathfrak{t}
\mathfrak{u} \mathfrak{v} \mathfrak{w} \mathfrak{x} \mathfrak{y} \mathfrak{z}
\mathfrak{0} \mathfrak{1} \mathfrak{2} \mathfrak{3} \mathfrak{4}
\mathfrak{5} \mathfrak{6} \mathfrak{7} \mathfrak{8} \mathfrak{9}
ไทป์เฟซลายมือ
\mathcal{A} \mathcal{B} \mathcal{C} \mathcal{D} \mathcal{E} \mathcal{F} \mathcal{G}
\mathcal{H} \mathcal{I} \mathcal{J} \mathcal{K} \mathcal{L} \mathcal{M}
\mathcal{N} \mathcal{O} \mathcal{P} \mathcal{Q} \mathcal{R} \mathcal{S} \mathcal{T}
\mathcal{U} \mathcal{V} \mathcal{W} \mathcal{X} \mathcal{Y} \mathcal{Z}
อักษรฮีบรู
\aleph \beth \gimel \daleth
คุณลักษณะ รูปแบบ การแสดงผล
อักษรที่ไม่เป็นตัวเอน \mbox{abc}
ผสมกับตัวเอน (รูปแบบที่ไม่ดี) \mbox{if} n \mbox{is even}
ผสมกับตัวเอน (รูปแบบที่ดี) \mbox{if }n\mbox{ is even}
ผสมกับตัวเอน (รูปแบบที่ดียิ่งขึ้น)
~ คือเว้นวรรคไม่ตัดคำ และ "\ " คือการบังคับให้เว้นวรรค
\mbox{if}~n\ \mbox{is even}

สีสัน

[แก้]

สูตรคณิตศาสตร์สามารถใส่สีได้ดังนี้

  • {\color{Blue}x^2}+{\color{YellowOrange}2x}-{\color{OliveGreen}1}
  • x_{1,2}=\frac{-b\pm\sqrt{\color{Red}b^2-4ac}}{2a}

ดูรายชื่อสีทั้งหมดที่รองรับกับ LaTeX และวิธีกำหนดสีได้ที่ color-package-demo.pdf

หมายเหตุ การใส่สีในสูตรนั้นไม่ควรกระทำ เว้นแต่จะเป็นการเน้นบางสิ่งซึ่งต้องการชี้ให้เห็น เนื่องจากสีสันไม่มีความหมายในสื่อแบบขาวดำ และอาจทำให้เกิดปัญหากับคนที่ตาบอดสี

ปัญหาการจัดวางรูปแบบ

[แก้]

การเว้นวรรค

[แก้]

ปกติแล้ว TeX จะเป็นตัวจัดการเรื่องการเว้นวรรคโดยอัตโนมัติ แต่บางครั้งคุณอาจจะอยากจัดการเรื่องการเว้นวรรคเอง เช่นต้องการเว้นวรรคเพิ่มขึ้น แต่การเคาะแป้นเว้นวรรคเพิ่มเติมก็ไม่ทำให้เกิดผลใด ๆ ในการแสดงผล จึงจำเป็นต้องใช้คำสั่งดังต่อไปนี้

คุณลักษณะ รูปแบบ การแสดงผล
เว้นวรรคกว้างสองเอ็ม (สองควอด) a \qquad b
เว้นวรรคกว้างหนึ่งเอ็ม (หนึ่งควอด) a \quad b
เว้นวรรคข้อความ a\ b
เว้นวรรคข้อความแบบไม่บังคับให้แสดงผลเป็น PNG a \mbox{ } b
เว้นวรรคขนาดกว้าง (แต่ก็ยังแคบกว่าเว้นวรรคข้อความ) a\;b
เว้นวรรคขนาดกลาง a\>b [ไม่รองรับในมีเดียวิกิ]
เว้นวรรคขนาดแคบ a\,b
ไม่เว้นวรรค ab
ร่นระยะทับซ้อน a\!b

การเว้นวรรคโดยอัตโนมัติอาจใช้งานไม่ได้ในนิพจน์ที่ยาวมาก ๆ เช่น

<math>0+1+2+3+4+5+6+7+8+9+10+11+12+13+14+15+16+17+18+19+20+\cdots</math>

สิ่งนี้แก้ไขได้โดยการเพิ่มวงเล็บปีกกา { } คลุมทั้งนิพจน์

<math>{0+1+2+3+4+5+6+7+8+9+10+11+12+13+14+15+16+17+18+19+20+\cdots}</math>

การจัดตำแหน่งบรรทัด

[แก้]

เนื่องจากสไตล์ชีตปริยายระบุไว้ว่า

img.tex { vertical-align: middle; }

ดังนั้นนิพจน์ที่เขียนอยู่ในบรรทัดเช่น ก็ควรจะแสดงผลได้ดี

อย่างไรก็ตามถ้าคุณต้องการจัดตำแหน่งบรรทัดเอง ใช้รหัส <math style="vertical-align: baseline;">...</math> และปรับเปลี่ยนค่าของ vertical-align จนกว่าคุณจะได้การแสดงผลที่ต้องการ อย่างไรก็ตามการแสดงผลอาจแตกต่างกันในต่างเบราว์เซอร์ด้วย

การบังคับให้แสดงผลเป็น PNG

[แก้]

การบังคับให้แสดงผลเป็น PNG สามารถเพิ่มเว้นวรรคขนาดเล็ก \, ที่จุดสุดท้ายของสูตรภายในแท็ก สิ่งนี้จะช่วยให้แสดงผลเป็น PNG สำหรับผู้ใช้ที่เลือกการตั้งค่าเป็น "ใช้พื้นฐานเป็น HTML" แต่จะไม่ให้ผลกับการตั้งค่าเป็น "ถ้าเป็นไปได้ใช้เป็น HTML" คุณยังสามารถใช้เว้นวรรคแล้วร่นระยะคืน \,\! ที่ใดก็ตามภายในแท็ก (แต่การเพิ่มไว้จุดสุดท้ายจะเป็นที่แนะนำ) สิ่งนี้จะให้ผลกับผู้ใช้ที่เลือก "ถ้าเป็นไปได้ใช้เป็น HTML" ด้วย

การบังคับให้แสดงผลเป็น PNG มีประโยชน์ในการตรวจสอบการแสดงผลของสูตร เช่นการแก้ไขปัญหาการแสดงผลใน HTML ที่ไม่ถูกต้องในบางเบราว์เซอร์เป็นต้น ตัวอย่างเช่น

รูปแบบ การแสดงผล
a^{c+2}
a^{c+2} \,
a^{\,\!c+2}
a^{b^{c+2}} (แสดงผลผิดพลาดเมื่อเลือก "ถ้าเป็นไปได้ใช้เป็น HTML")
a^{b^{c+2}} \, (แสดงผลผิดพลาดเมื่อเลือก "ถ้าเป็นไปได้ใช้เป็น HTML")
a^{b^{c+2}}\approx 5 (เนื่องจาก แสดงผลเป็น PNG อยู่แล้วจึงไม่จำเป็นต้องมี \,\! )
a^{b^{\,\!c+2}}
\int_{-N}^{N} e^x\, dx

ตัวอย่าง

[แก้]

สมการกำลังสอง

[แก้]


<math>ax^2 + bx + c = 0</math>

สมการกำลังสอง (บังคับให้แสดงผลเป็น PNG)

[แก้]


<math>ax^2 + bx + c = 0\,\!</math>

จากรูปเครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบ 4 จังหวะ มีความดันแก๊สสูงสุด 10 bar จงคำนวนหา

วงเล็บและเศษส่วนขนาดใหญ่

[แก้]


<math>2 = \left (
 \frac{\left (3-x\right) \times 2}{3-x}
 \right) </math>


 <math>S_{\text{new}} = S_{\text{old}} - \frac{ \left ( 5-T \right) ^2} {2}</math>
 

ปริพันธ์

[แก้]


<math>\int_a^x \!\!\!\int_a^s f (y) \,dy\,ds
 = \int_a^x f (y) (x-y) \,dy</math>

ผลรวม

[แก้]


<math>\sum_{m=1}^\infty\sum_{n=1}^\infty\frac{m^2\,n}
 {3^m\left (m\,3^n+n\,3^m\right)}</math>

สมการเชิงอนุพันธ์

[แก้]


<math>u'' + p(x)u' + q(x)u=f(x),\quad x>a</math>

จำนวนเชิงซ้อน

[แก้]


<math>|\bar{z}| = |z|,
 | (\bar{z}) ^n| = |z|^n,
 \arg (z^n) = n \arg (z) </math>

ลิมิต

[แก้]


<math>\lim_{z\rightarrow z_0} f (z) =f (z_0) </math>

สมการเชิงปริพันธ์

[แก้]


<math>\phi_n (\kappa) =
 \frac{1}{4\pi^2\kappa^2} \int_0^\infty
 \frac{\sin (\kappa R)}{\kappa R}
 \frac{\partial}{\partial R}
 \left[R^2\frac{\partial D_n (R)}{\partial R}\right]\,dR</math>

ตัวอย่าง

[แก้]


<math>\phi_n (\kappa) = 
 0.033C_n^2\kappa^{-11/3},\quad
 \frac{1}{L_0}\ll\kappa\ll\frac{1}{l_0}</math>

ความต่อเนื่องและการแยกกรณี

[แก้]


<math>
 f (x) =
 \begin{cases}
 1 & -1 \le x < 0 \\
 \frac{1}{2} & x = 0 \\
 1 - x^2 & \mbox{otherwise}
 \end{cases}
 </math>

ตัวยกและตัวห้อย

[แก้]


 <math>{}_pF_q (a_1,\dots,a_p;c_1,\dots,c_q;z)
 = \sum_{n=0}^\infty
 \frac{(a_1)_n\cdots (a_p)_n}{(c_115_n\cdots (c_q)_n}
 \frac{z^n}{n!}</math>

4539

เศษส่วนและเศษส่วนขนาดเล็ก

[แก้]

<math> \frac {a}{b}\  \tfrac {a}{b} </math>