ข้ามไปเนื้อหา

สงครามสิบวัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามสิบวัน
ส่วนหนึ่งของ สงครามยูโกสลาเวีย

แผนที่การดำเนินงานยูโกสลาเวียในช่วงสงครามสิบวัน
วันที่27 มิถุนายน พ.ศ. 2534 – 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2534
สถานที่
ผล

สโลวีเนียชนะเด็ดขาด[1][2]

  • สนธิสัญญาบีออนี
คู่สงคราม

 ยูโกสลาเวีย

สโลวีเนีย สโลวีเนีย

  • กองป้องกันดินแดนสโลวีเนีย
  • สำนักงานตำรวจสโลวีเนีย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย Ante Marković[3]
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย Veljko Kadijević
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย Konrad Kolšek
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย Andrija Rašeta
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย Aleksandar Vasiljević
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย Milan Aksentijević
สโลวีเนีย Milan Kučan
สโลวีเนีย Lojze Peterle
สโลวีเนีย Janez Slapar
สโลวีเนีย Janez Janša
สโลวีเนีย Igor Bavčar
กำลัง
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย สมาชิก 22,300 คน[4] สโลวีเนีย สมาชิกกองป้องกันดินแดนสโลวีเนีย 35,200 คน
สโลวีเนีย เจ้าหน้าที่ตำรวจ 10,000 คน[4]
ความสูญเสีย
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ตาย 44 คน
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย บาดเจ็บ 146 คน
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย นักโทษ 4,693 คน[4]
สโลวีเนีย ตาย 19 คน
สโลวีเนีย บาดเจ็บ 182 คน[4]

สงครามสิบวัน (สโลวีเนีย: desetdnevna vojna) หรือเรียกอีกชื่อว่า สงครามประกาศอิสรภาพสโลวีเนีย (สโลวีเนีย: slovenska osamosvojitvena vojna)[5] เป็นสงครามอิสรภาพตามประกาศอิสรภาพของชาวสโลวีเนียในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2534[6] ซึ่งยูโกสลาเวียได้ปรปักษ์กับกองป้องกันดินแดนสโลวีเนีย (สโลวีเนีย: Teritorialna obramba Republike Slovenije)

สงครามสิบวันเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2534 หลังกองทัพยูโกสลาเวียข้ามพรมแดนสโลวีเนียที่เมืองเมตลีกา จนถึงวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 เมื่อมีการลงนามในสนธิสัญญาบีออนี อย่างไรก็ตาม สงครามสิบวันถือเป็นความขัดแย้งแรกในสงครามยูโกสลาเวียที่กินเวลายาวนานกว่า 10 ปี

อ้างอิง

[แก้]
  1. Klemenčič, Matjaž; Žagar, Mitja (2004). "Democratization in the Beginning of the 1990s". The Former Yugoslavia's Diverse Peoples: A Reference Sourcebook. ABC-CLIO. pp. 297–298. ISBN 978-1-57607-294-3.
  2. Lukic, Rénéo; Lynch, Allen (1996). "The Wars of Yugoslav Succession, 1941–95". Europe from the Balkans to the Urals: The Disintegration of Yugoslavia and the Soviet Union. Oxford University Press. p. 184. ISBN 978-0-19-829200-5.
  3. Lenard J. Cohen, Jasna Dragović-Soso. State Collapse in South-Eastern Europe: New Perspectives on Yugoslavia's Disintegration. Purdue University Press, 2008. Pp. 323. (It says that the Socialist Federal Republic of Yugoslavia's Prime Minister Ante Marković declared the secessions of Slovenia and Croatia to be illegal and contrary to the Constitution of the SFRY, and authorized the Yugoslav People's Army to secure the integral unity of the SFRY).
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 J. Švajncer, Janez (May 2001). "War for Slovenia 1991". 25 June 2001: 10 Years of Independence. Slovenska vojska (magazine).
  5. Clapham, David (1996). "Slovenia". Housing Privatization in Eastern Europe. Greenwood Publishing Group. p. 152. ISBN 978-0-313-27214-1.
  6. Fraudet, Xavier (2006). France's Security Independence: Originality and Constraints in Europe, 1981-1995. Peter Lang. p. 129. ISBN 978-3-03911-141-1.

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Allcock, John B. et al. Conflict in the Former Yugoslavia. ABC-CLIO, Denver, 1998
  • Gow, James & Carmichael, Cathie. Slovenia and the Slovenes. C. Hurst, London, 1999
  • Gow, James. The Serbian Project and its Adversaries. C. Hurst, London, 2003
  • The War in Croatia and Bosnia-Herzegovina, 1991–1995, ed. Branka Magaš and Ivo Žanić. Frank Cass, London, 2001
  • Svajncer, Brigadier Janez J. "War for Slovenia 1991" เก็บถาวร 2006-01-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Slovenska vojska, May 2001.