ไทมอลบลู
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
Preferred IUPAC name
3,3-Bis[4-hydroxy-2-methyl-5-(propan-2-yl)phenyl]-2,1λ6-benzoxathiole-1,1(3H)-dione | |
ชื่ออื่น
α-hydroxy-α,α-bis(5-hydroxycarvacryl)- o-toluenesulfonic acid γ-sultone; thymolsulfonephthalein
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.000.886 |
EC Number |
|
ผับเคม CID
|
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C27H30O5S | |
มวลโมเลกุล | 466.59 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | ผงผลึกสีเขียวน้ำตาล |
จุดหลอมเหลว | 221–224 องศาเซลเซียส (430–435 องศาฟาเรนไฮต์; 494–497 เคลวิน) decomposes[1] |
ไม่ละลาย | |
UV-vis (λmax) | 594 nm (1st) 376 nm (2nd)[1] |
ความอันตราย | |
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |
อันตรายหลัก
|
เป็นอันตราย |
GHS labelling:[2] | |
เตือน | |
H302 | |
P264, P270, P301+P312, P330, P501 | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ไทมอลบลู (อังกฤษ: thymol blue) หรือ ไทมอลซัลโฟเนฟทาลีน (thymolsulphonephthalein) เป็นผงผลึกสีเขียวน้ำตาล มีสูตรเคมีคือ C27H30O5S มีคุณสมบัติติดไฟ ไม่ละลายน้ำ แต่ละลายในแอลกอฮอล์และสารละลายแอลคาไลน์เจือจาง[3] ไทมอลบลูใช้เป็นตัวบ่งชี้พีเอช โดยจะเปลี่ยนจากสีแดงไปเป็นสีเหลืองที่ pH 1.2–2.8 และเปลี่ยนจากสีเหลืองไปเป็นสีน้ำเงินที่ pH 8.0–9.6 และเป็นส่วนประกอบหนึ่งของยูนิเวอร์แซลอินดิเคเตอร์[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Thymol Blue
- ↑ "Thymol blue". pubchem.ncbi.nlm.nih.gov (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 12 December 2021.
- ↑ "Thymol blue (76-61-9)". ChemicalBook. สืบค้นเมื่อ March 2, 2018.
- ↑ "Thymol Blue - MSDS" (PDF). Santa Cruz Biotechnology. สืบค้นเมื่อ March 2, 2018.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ไทมอลบลู
- "Thymol blue - MSDS". Science Lab. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-03. สืบค้นเมื่อ 2018-03-01.