ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:B20180/กระบะทราย 2"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัด 6: | บรรทัด 6: | ||
== พินเทอเรสต์ == |
== พินเทอเรสต์ == |
||
'''พินเทอเรสต์''' ({{lang-en|Pinterest}}) เป็นเครื่องมือที่ผู้คนใช้เก็บรวบรวมแนวความคิดสำหรับโครงการต่าง ๆ ที่พวกเขาสนใจ ผู้คนสามารถสร้างและแบ่งปันของที่สะสมไว้ (ที่เป็น "บอร์ด"){{โครงส่วน}} |
|||
'''พินเทอเรสต์''' ({{lang-en|Pinterest}}) |
|||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
||
{{รายการอ้างอิง}} |
{{รายการอ้างอิง|30em}} |
||
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
|||
{{commonscat|Pinterest|พินเทอเรสต์}} |
|||
* {{official website|http://www.pinterest.com}} |
|||
* [http://www.newstrail.com/category/technology/pinterest/ Pinterest news headlines]—Aggregates Pinterest news into relevant categories] |
|||
[[:หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์บนแอนดรอยด์]] |
|||
[[:หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์บนไอโอเอส]] |
|||
[[:หมวดหมู่:บริการเครือข่ายสังคม]] |
|||
[[:en:Pinterest]] |
[[:en:Pinterest]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:29, 14 มิถุนายน 2557
Coming Soon
Welcome to my sandbox :D
เรื่องที่เขียนในระยะนี้
พูดคุย |
พินเทอเรสต์
พินเทอเรสต์ (อังกฤษ: Pinterest) เป็นเครื่องมือที่ผู้คนใช้เก็บรวบรวมแนวความคิดสำหรับโครงการต่าง ๆ ที่พวกเขาสนใจ ผู้คนสามารถสร้างและแบ่งปันของที่สะสมไว้ (ที่เป็น "บอร์ด")
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์ทางการ
- Pinterest news headlines—Aggregates Pinterest news into relevant categories]
หัวหน้าผู้ฝึกสอน
บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย
|
หัวหน้าผู้ฝึกสอน (head coach), ผู้ฝึกสอนชุดใหญ่ (senior coach) หรือ ผู้จัดการ (manager) เป็นผู้ฝึกสอนและพัฒนานักกีฬาระดับอาชีพ พวกเขาจะเป็นที่รู้จักในระดับสาธารณะและมักจะได้รับเงินมากกว่าผู้ฝึกสอนอื่น ในกีฬาบางชนิด อย่างเช่นฟุตบอล หัวหน้าผู้ฝึกสอนมักจะได้รับการเรียกว่าผู้จัดการฟุตบอล ในขณะที่กีฬาอื่น อย่างเช่นฟุตบอลกติกาออสเตรเลีย โดยทั่วไปจะเรียกว่าผู้ฝึกสอนชุดใหญ่
ผู้ฝึกสอนอื่นมักจะเป็นผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของหัวหน้าผู้ฝึกสอน โดยมักจะอยู่ในตำแหน่งรุกและตำแหน่งรับ และบางครั้งก็ดำเนินงานเป็นผู้ฝึกสอนรายบุคคล
อเมริกันฟุตบอล
หัวหน้าผู้ฝึกสอนอเมริกันฟุตบอลมีความรับผิดชอบที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับระดับของกีฬาของพวกเขาที่ได้รับการฝึก
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
มะเร็งผิวหนังในสุนัขและแมว
เนื้องอกผิวหนัง ทั้งเนื้องอกไม่เป็นอันตราย (ที่ไม่เป็นมะเร็ง) และก้อนเนื้อร้าย (ที่เป็นมะเร็ง) ที่มีอยู่ ประมาณ 20-40 เปอร์เซ็นต์ของเนื้องอกผิวหนังหลักเป็นก้อนเนื้อร้ายในสุนัข และ 50-65 เปอร์เซ็นต์เป็นก้อนเนื้อร้ายในแมว ซึ่งไม่ได้เป็นทุกรูปแบบของโรคมะเร็งผิวหนังในสุนัขและแมวที่เกิดจากแสงแดด แต่มันสามารถเกิดขึ้นได้ในบางครั้ง โดยในสุนัข จมูกและเท้าจะมีลักษณะผิวที่แพ้ง่ายซึ่งไม่มีขนที่ป้องกันจากดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับแมวและสุนัขที่มีความบอบบางและขนสีอ่อน ซึ่งมีความเสี่ยงสูงขึ้นของการได้รับอันตรายจากแสงอาทิตย์ที่ผ่านสู่ร่างกายทุกส่วนของพวกมัน[1]
การวินิจฉัย
โดยปกติ ทั้งเซลล์วิทยาหรือการวิเคราะห์ทางจุลพยาธิวิทยาของก้อนที่น่าสงสัยจะได้รับการพบก่อนที่จะเริ่มทำการรักษา การตรวจวินิจฉัยที่ใช้กันทั่วไปสำหรับเนื้องอกผิวหนังจใช้วิธีการตรวจเซลล์ผิดปกติจากเนื้อเยื่อและการตัดเนื้อออกตรวจ[2]
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การรักษา
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
en:Skin cancer in cats and dogs
เวนเดล โรช
เวนเดล โรช (ดัตช์: Wendell Roche; 13 เมษายน ค.ศ. 1971 — ) เป็นนักสู้ผู้ใช้วิชามวยไทยรุ่นเฮฟวี่เวทชาวดัตช์-กือราเซา เขาเป็นผู้ประสบความสำเร็จได้อย่างเหลือเชื่อ โดยเป็นนักสู้เพียงคนเดียวที่สามารถเป็นฝ่ายชนะคินที เฟรเด
ผลงานในระดับอาชีพ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
รายการที่ชนะ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
{{lifetime}}
เทียบู
B20180/กระบะทราย 2 | |||
อักษรจีนตัวเต็ม | 程武 | ||
---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 程武 | ||
|
เทียบู (จีน: 程武; อังกฤษ: Cheng Wu; ค.ศ. 201 — ?) เป็นนักการเมืองแห่งวุยก๊กสมัยยุคสามก๊ก ซึ่งมีตัวตนในประวัติศาสตร์จีน เขาเป็นบุตรชายของเทียหยก โดยเทียบูได้ทำหน้าที่ภายใต้การบัญชาการของแฮหัวหลิมครั้งหนึ่งในการต่อต้านการบุกรุกของทัพจ๊กก๊ก เขาเสนอกลยุทธให้แก่แฮหัวหลิม ในการล่อให้จูล่งต้องตกอยู่ในกับดัก แต่จูล่งก็สามารถทำการต่อสู้หาทางออกมาได้ เทียบูยังเป็นผู้ให้คำแนะนำให้แก่แฮหัวหลิมในการซุ่มโจมตีจูล่ง ซึ่งเทียบูได้มาเป็นบุคคลที่มีความโดดเด่นของวุยก๊กในปีต่อมา
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 744
หมวดหมู่:บุคคลที่ยังไม่ทราบปีที่เสียชีวิต
{{โครงทหาร}}
โชอิชิ ยะนะกิโมะโตะ
- วันเกิด: 5 มิถุนายน ค.ศ. 1951
- ที่เกิด: โอซะกะ จังหวัดโอซะกะ
- ส่วนสูง: 182 ซม.
- ฝึกสอน: โอซะกะซะไกเบลเซอร์ส
วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย
นิสชินสตีล (ผู้เล่น, ผู้อำนวยการประจำปี ค.ศ. 1991)
โทโยโบโอคิสุ
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น
โชอิชิ ยะนะกิโมะโตะ (ญี่ปุ่น: 柳本晶一; อังกฤษ: Shoichi Yanagimoto; 5 มิถุนายน ค.ศ. 1951 — ) เป็นอดีตนักกีฬาวอลเลย์บอลชาวญี่ปุ่น (วอลเลย์บอลชายทีมชาติญี่ปุ่น) โดยเป็นผู้นำของทีม ที่ทำหน้าที่ในตำแหน่งมือเซต ซึ่งมีส่วนสูงที่ 182 ซม. ในเวลาต่อมา เขาได้ทำหน้าที่เป็นผู้ฝึกสอนให้แก่วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น ซึ่งได้รับการยกย่องจากสื่อมวลชนว่า เป็นผู้พลิกฟื้นให้แก่วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น
ประวัติ
โชอิชิ ยะนะกิโมะโตะ มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่โอซะกะ จังหวัดโอซะกะ[1] เขาเคยเป็นผู้ฝึกสอนวอลเลย์บอล ให้แก่วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ซึ่งรวมถึงเกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร (โค้ชอ๊อต) และปิยะ ศรีสมุทรนาค (โค้ชยะ)[2] และในภายหลัง เขาได้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนให้แก่วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น ก่อนที่จะได้รับการแทนที่โดยมะซะโยะชิ มะนะเบะ[3]
หนังสืออ่านเพิ่ม
- 力を引き出す : どん底から個人と組織を甦らせる(PHP研究所) ISBN 4569640958
- 人生、負け勝ち(幻冬舎) ISBN 4344007298
อ้างอิง
{{lifetime}}
ดาม ศรีจันทร์
ดาม ศรีจันทร์ เป็นผู้ฝึกสอนมวยไทย
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เกียรติประวัติ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- พ.ศ. 2553 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นตติยดิเรกคุณาภรณ์ (ต.ภ.)[1]
- พ.ศ. 2556 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นตติยดิเรกคุณาภรณ์ (ต.ภ.)[2]
อ้างอิง
- ค่ายดามศรีจันทร์ ค่ายมวยน้องใหม่ไฟแรงแห่งยุค - สยามสปอร์ต
- ยิมฯ น้องใหม่ไฟแรงแห่งยุค ค่าย ดาม ศรีจันทร์ แห่งงานมหกรรมแสดงสินค้า Thailand International Sport Expo 2013
- ออล อิน วัน กับ"ดาม ศรีจันทร์" : ข่าวสดออนไลน์
- 2 ฮีโร่ทองเทควันโด ชู “โค้ชเช” ช่วยซิวชัย - Sport - Manager Online
- ดาม ศรีจันทร์ ประเดิมสนามวันแรก ชนะนักเทควันโด้จากลาว ผ่านเข้ารอบรองชนะเลิศ
- การแข่งขันซีเกมส์ ประเทศลาว - สมาคมเทควันโดแห่งประเทศไทย
- เขาทราย-สมรักษ์ร่วมสร้างสีสันในสปอร์ตเอ็กซ์โป 2013
- ข่าวเด่น : สถานกงสุลใหญ่ฯ จัดงานเทศกาลไทย ณ นครกว่างโจว ครั้งที่ 8 ภายในงานกว่างโจวแฟร์ 2013 วันที่ 23-26 สิงหาคม 2556
- เตือนภัยธุรกิจ - ThaiBizChina
แหล่งข้อมูลอื่น
{{อายุขัย}}
หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญทองซีเกมส์ชาวไทย
หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญเงินซีเกมส์ชาวไทย
หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญทองแดงซีเกมส์ชาวไทย
หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดนครราชสีมา
หมวดหมู่:บุคคลจากคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
หมวดหมู่:บุคคลจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.ภ.
เวเจทาเรียนไทมส์
เวเจทาเรียนไทมส์ (อังกฤษ: Vegetarian Times) เป็นนิตยสารรายเดือนที่ได้รับการจัดพิมพ์เก้าครั้งต่อปี (สามเดือนต่อสองฉบับ) โดยครัซเบย์พับลิชชิงอิงค์ และผู้อ่านนิตยสารประกอบด้วยผู้ทานมังสวิรัติและ"มังสวิรัติแบบยืดหยุ่น"ซึ่งมุ่งเน้นไปสู่การดำเนินชีวิตที่มีสุขภาพดี เวเจทาเรียนไทมส์ให้การส่งเสริมวิถีชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยตำรับ, ข้อมูลสุขภาพ, เทคนิคการทำอาหาร และข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์"สีเขียว" ถึงกระนั้น ครึ่งหนึ่งของผู้อ่านไม่ได้ปฏิบัติตามรูปแบบของอาหารมังสวิรัติอย่างเคร่งครัด[1]
ประวัติ
หลังจากที่ประสบความสำเร็จในความพยายามที่จะขายบทความที่เขียนเกี่ยวกับการไม่รับประทานเนื้อสัตว์โดยใช้ชื่อ "เป็นมังสวิรัติคุณจะไม่มีวันกล่าวขออภัย – ให้แก่วัว" ใน ค.ศ. 1974 พอล โอบิส ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งได้ใส่ข่าวแถลงสี่หน้าและได้เรียกมันว่าเวเจทาเรียนไทมส์ เขาทำสำเนา 300 ชุด และออกฉบับแรกให้แก่ผู้สมัครสมาชิกสองราย[2]
เมื่อนิตยสารนี้มีอายุได้เจ็ดสิบปี ได้มีการเพิ่มจำนวนหน้าตั้งแต่ 4 หน้า ไปเป็น 16 ถึง 24 หน้า และได้รับการตีพิมพ์ครั้งละประมาณ 1,000–2,000 ฉบับ โดยในปี ค.ศ. 1977 ซึ่งเป็นช่วงหลังจากเล่ม 19 เวเจทาเรียนไทมส์ ได้รับการตีพิมพ์เป็นรายสองเดือนและมีผู้อ่านที่ 10,000 คน[2] หลังจากการจัดทำและจัดจำหน่ายจากบ้านของเขา โอบิสได้ขอเผยแพร่และขายหุ้นของตัวเอง 80 เปอร์เซนต์ให้แก่สำนักพิมพ์นิวยอร์กที่ชื่อแอสโซซิเอทบิสิเนสพับลิเคชัน (เอบีพี) เพื่อแลกกับหนี้สินมูลค่า 60,000 ดอลลาร์กับจดหมายที่ยังไม่ได้เปิดสองถุงและเห็นด้วยที่จะให้ดำเนินการจัดพิมพ์ต่อ[2]
ในช่วงที่เอบีพีได้มาเป็นเจ้าของนิตยสาร โอบิสยังคงทำหน้าที่เป็นบรรณาธิการต่อ ใน ค.ศ. 1985 ได้ซื้อนิตยสารคืนจากเอบีพีด้วยจำนวนเงิน 276,000 ดอลลาร์ เพื่อนที่เก่าแก่ของโอบิสที่ชื่อเฟรด โรเจอร์ส (หรือ"มิสเตอร์โรเจอร์ส") ได้ให้การช่วยเหลือด้านเงินทุนและได้กลายเป็นผู้ถือหุ้นเสียงข้างน้อย ในขณะที่โอบิสเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เวเจทาเรียนไทมส์เติบโตอย่างรวดเร็วภายใต้การบริหารของโอบิส โดยมียอดจำหน่ายเพิ่มขึ้นจาก 10,000 เล่มถึงกว่า 250,000 เล่มใน ค.ศ. 1990 และในปีดังกล่าว โอบิสได้ขายกิจการนิตยสารให้แก่คาวล์สมีเดีย ซึ่งเป็นเจ้าของมินนีแอโพลิสสตาร์ทริบูน ด้วยจำนวนเงิน 10 ล้านดอลลาร์
ใน ค.ศ. 2003 สำนักพิมพ์แอคทีฟอินเทอร์เรสต์มีเดียได้ซื้อสิ่งพิมพ์จากคาวล์สมีเดียและเริ่มจัดพิมพ์ใหม่ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2004 เมื่อครั้งครบรอบปีที่ 30 ของนิตยสาร หลังจากการลงทุนอย่างมีนัยสำคัญ และได้มีการยกเครื่องบรรณาธิการใหม่[1] นิตยสารขยายเนื้อหาครอบคลุมไม่เพียงเฉพาะด้านมังสวิรัติแบบเคร่งครัดเท่านั้น หากแต่ให้ผู้คนได้เห็นถึงวิถีการดำเนินชีวิตที่แข็งแรง และตำรับอาหารเพื่อสุขภาพ เอบีพีได้ปรับเปลี่ยนนิตยสารเป็นมาเป็นสิ่งพิมพ์รายเดือนและเพิ่มการโฆษณาจากที่แทบจะไม่มีมาเป็น 15 ถึง 20 หน้าต่อต่อฉบับ ยอดจำหน่ายได้มีการเติบโตและรายได้เพิ่มขึ้นยี่สิบครั้งไปถึงกว่า 1 ล้านดอลลาร์[1] แม้จะมีการเจริญเติบโต ทางวารสารก็ยังคงสูญเสียเงิน ใน ค.ศ. 1985 เอบีพีที่ได้สิ่งพิมพ์ใหม่และได้ตัดสินใจ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เนื้อหา
ช่วงปี ค.ศ. 2008 เวเจทาเรียนไทมส์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
- ↑ 1.0 1.1 1.2 Shields, Michael (5 August 2004). "Mag Rack: Vegetarian Times, Organic Style, AARP". Media Daily News. Media Post News. สืบค้นเมื่อ 13 July 2010.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Henderson, Harold (10 December 1987). "These are Vegetarian Times: And the world's leading meatless magazine, based in Oak Park, is starting to rake in the green stuff". Chicago Reader. สืบค้นเมื่อ 13 July 2010.
แหล่งข้อมูลอื่น
ฟุตบอลชายหาดทีมชาติโปรตุเกส
ฟุตบอลชายหาดทีมชาติโปรตุเกส (โปรตุเกส: Selecção Portuguesa de Futebol de Praia) เป็นตัวแทนทีมชาติโปรตุเกสในการแข่งฟุตบอลชายหาดระหว่างประเทศ และทีมนี้ได้รับการควบควบคุมโดยสหพันธ์ฟุตบอลโปรตุเกส ซึ่งเป็นองค์กรกีฬาฟุตบอลในประเทศโปรตุเกส ทีมนี้ยังเป็นทีมแรกที่สามารถทำให้ทีมชาติบราซิลหลุดพ้นออกจากการเป็นแชมป์ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลก โดยสามารถทำได้ในปี ค.ศ. 2001 และใน ค.ศ. 2005 ในรอบรอง รวมถึงเป็นเพียงทีมเดียวที่ทำเช่นนี้ได้ถึงถิ่นเจ้าภาพบราซิล ที่ซึ่งเกิดขึ้นได้ยากถึงสองครั้ง ปัจจุบัน ทีมฟุตบอลชายหาดโปรตุเกสได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับ 3 ของโลก
ทีมปัจจุบัน
อิงจากเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013
หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
|
|
ผู้ฝึกสอน: มาริโอ นาร์ซีโซ
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน: ลุยส์ บิลโร และ เทียโก เฮส
ผู้เล่นที่มีผลงานโดดเด่น
2007
- ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
- Notícias - Federação Portuguesa de Futebol (โปรตุเกส)
{{โครงฟุตบอล}}
en:Portugal national beach soccer team
ศศิธร หงษ์ประเสริฐ
ข้อมูลส่วนบุคคล | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สัญชาติ | ไทย | ||||||||||||||
เกิด | 13 มิถุนายน พ.ศ. 2527 กรุงเทพ ประเทศไทย | ||||||||||||||
ส่วนสูง | 1.65 m (5 ft 5 in) | ||||||||||||||
น้ำหนัก | 57 กก. (126 lb) | ||||||||||||||
กีฬา | |||||||||||||||
กีฬา | ยิงปืน | ||||||||||||||
ประเภท | ปืนยาวอัดลม 10 เมตร (AR40) ปืนยาว 3 ท่า 50 เมตร (STR3X20) | ||||||||||||||
รายการเหรียญรางวัล
|
ศศิธร หงษ์ประเสริฐ เกิดวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2527 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักกีฬายิงปืนชาวไทย[1]
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
- ↑ Evans, Hilary; Gjerde, Arild; Heijmans, Jeroen; Mallon, Bill; และคณะ. "Sasithorn Hongprasert". Olympics at Sports-Reference.com. Sports Reference LLC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-04. สืบค้นเมื่อ 10 January 2013.
แหล่งข้อมูลอื่น
{{อายุขัย}}
หมวดหมู่:นักกีฬาโอลิมปิกทีมชาติไทย
หมวดหมู่:นักยิงปืนในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008
หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญทองซีเกมส์ชาวไทย
หมวดหมู่:นักกีฬาจากกรุงเทพมหานคร
{{โครงชีวประวัติ}}
ลูซซูเรีย
ลูซซูเรีย (ルッスーリア) | |
---|---|
ตัวละครใน ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! | |
ไฟล์:ลูซซูเรีย.jpg ลูซซูเรีย ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! | |
ให้เสียงโดย | โคอิจิโร่ ยูซุวะ |
ประวัติ | |
ญาติ | เป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มวาเรีย |
ข้อมูล | |
สัญชาติ | อิตาลี |
ปรากฏตัวครั้งแรก | 92 (มังงะ) 41 (อนิเมะ) |
เกิดวันที่ | 4 เมษายน |
ส่วนสูง | 185 ซม. |
น้ำหนัก | 78 กก. |
ลูซซูเรีย (ญี่ปุ่น: ルッスーリア; อังกฤษ: Lussuria) เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดยโคอิจิโร่ ยูซุวะ ปรากฏตัวครั้งแรกในมังงะตอนที่ 92 และในอนิเมะตอนที่ 41 เป็นผู้ใช้วิชามวยไทยในการต่อสู้ ซึ่งอยู่ในกลุ่มของวาเรีย ภาพลักษณ์ของเขาคือมักสวมแว่นกันแดดและมีการสวมเสื้อโค้ทที่มีขนสีส้มอยู่รอบคอ และมีผมเป็นสีน้ำตาลกับปอยผมสีเขียว มีกล้ามเนื้อที่แข็งแกร่ง นอกจากนี้ ลูซซูเรียยังมีเข่าเหล็กที่ข้างซ้ายสำหรับการโจมตีและทำลายคู่ต่อสู้
เนื้อเรื่องย่อ
ลูซซูเรียได้เข้าร่วมทำศึก Sun Ring Battle โดยได้พบกับซาซางาวะ เรียวเฮ แม้ว่าเขาจะใส่แว่นกันแดดในเวทีที่สว่างจ้าด้วยความมั่นใจ แต่เรียวเฮย์ก็สามารถใช้แมกซิมัมแคนนอนทำลายขาโลหะของลูซซูเรียลงได้ จากการที่เขาใช้วิชามวยไทยลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เขาพยายามที่จะสู้ต่อ แต่ถูกยิงกลับโดย Gola Mosca ผู้ซึ่งตัดสินให้ลูซซูเรียเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ เขาได้รับการเปิดเผยว่าจะยังคงมีชีวิตอยู่ระหว่าง Sky Ring Battle จากการถูกบังคับให้เข้าร่วม ซึ่งเรียวเฮย์ยังได้ให้ยาแก้พิษ Death Heater แก่เขาด้วย แม้ว่าจะอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับเขาก็ตาม
ฟิวเจอร์อาร์ค
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความสามารถ
ลูซซูเรียคือสมาชิกกลุ่มวาเรียผู้มีความเชี่ยวชาญด้านศิลปะการต่อสู้ มีร่างกายที่แข็งแกร่ง สามารถทำร้ายร่างกายคู่ต่อสู้ด้วยพลังความร้อน รูปแบบการต่อสู้ของเขาเป็นแบบมวยไทยที่ใช้ทั้งแขนและขา รวมทั้งรูปแบบการต่อสู้ของเขายังมีการใช้เข่าเหล็กที่ใช้ป้องกันตัวและสามารถสร้างความเสียหายให้แก่ศัตรู
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
- ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ "ลูซซูเรีย" (อังกฤษ)
{{รีบอร์น!}}
หมวดหมู่:ตัวละครในครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!
หมวดหมู่:ตัวละครที่เป็นนักมวยไทย
{{โครงการ์ตูน}}
ม้าเวียน
ม้าเวียน (อังกฤษ: roundabout หรือ merry-go-round)
นวัตกรรม
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
{{โครงของเล่น}}
ม้าหมุน
ม้าหมุน (อังกฤษ: carousel)
อ้างอิง
- The oldest carousel in the world
- How It's Made: Season 7: Episode 3: Matches, Carousel Horses, Fine Porcelain, Automobile Fuel Tanks. February 10, 2008.
แหล่งข้อมูลอื่น
- The National Carousel Association
- The C. W. Parker Carousel Museum
- International Museum of Carousel Art
- Video of a hand-cranked carousel in Szentendre, Hungary
- Historic Carousels at the 1964-65 New York World's Fair
มูลนิธิฮีลเดอะเวิลด์
มูลนิธิ ฮีลเดอะเวิลด์ (อังกฤษ: Heal the World Foundation) เป็นองค์กรการกุศล ที่ก่อตั้งขึ้นโดย ไมเคิล แจ็คสัน ใน ค.ศ. 1992 โดยการจัดมูลนิธิได้รับแรงบันดาลใจมาจากซิงเกิลการกุศลในชื่อเดียวกัน การช่วยเหลือผ่านทางมูลนิธินี้ ไมเคิล แจ็คสัน ได้ส่งพัสดุทางอากาศ 46 ตันสู่ซาราเยโว, การจัดให้มีการศึกษาถึงโทษของยาเสพติดและสารแอลกอฮอล์ และบริจาคเงินนับล้านดอลลาร์สำหรับเด็กด้อยโอกาส รวมถึงการชำระเงินเต็มจำนวนสำหรับการการปลูกถ่ายตับของเด็กๆชาวฮังการี และจากภาวะล้มละลายของแฟ้มงบบัญชีประจำปีทำให้มูลนิธิได้รับการยกเว้นการชำระภาษีในปี ค.ศ. 2002 สำหรับองค์กรอื่นที่มิได้มีส่วน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
- Taraborrelli, J. Randy (2004). The Magic and the Madness. Terra Alta, WV: Headline. ISBN 0-330-42005-4.
{{ไมเคิล แจ็กสัน}}
{{โครงหน่วยงาน}}
หมัดงู
หมัดงู (จีน: 蛇拳; อังกฤษ: Snake Kung Fu)
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ในวัฒนธรรมร่วมสมัย
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
หมวดหมู่:ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของจีน
พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย
พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย (อังกฤษ: Bank of Thailand Museum)
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การจัดแสดง
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
{{coord}}
หมวดหมู่:พิพิธภัณฑ์ในกรุงเทพมหานคร
{{โครงสถานที่}}
พอยท์แบลงค์
พอยท์แบลงค์ (เกาหลี: 포인트 블랭크; อังกฤษ: Point Blank) เป็นเกมออนไลน์ยุทธวิธียิงปืนมุมมองบุคคลที่หนึ่งที่ได้รับการพัฒนาโดย Zepetto ซึ่งเป็นบริษัทในประเทศเกาหลีใต้
รูปแบบการเล่น
พอยท์แบลงค์เป็นเกมยิงก้าวเท้าอย่างรวดเร็วในมุมมองบุคคลที่หนึ่ง ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันกับเคาน์เตอร์-สไตรก์มากในแง่ของการเล่น
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การพัฒนา
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
- Thailand Point Blank (ไทย)
- North America Project Blackout (อังกฤษ)
หมวดหมู่:วิดีโอเกมที่พัฒนาขึ้นในประเทศเกาหลีใต้
{{โครงเกม}}
{{Link FA}}
en:Point Blank (2008 video game)
เซนต์เซย์ย่า ภาคโหมโรงสู่ภาคสวรรค์
B20180/กระบะทราย 2 | |
---|---|
กำกับ | ชิเงยาสุ ยามาอุจิ |
เขียนบท | บทภาพยนตร์: มิชิโกะ โยโกเตะ อากาสุกิ ยามาโทยะ เรื่องต้นฉบับ: มาซามิ คุรุมาดะ |
นักแสดงนำ | โทรุ ฟุรุยะ เคย์โก ฮัง ยุริกะ ฮิโนะ ฮิกะรุ มิโดริกะวะ |
ตัดต่อ | ชิเกะรุ นิชิยะมะ |
ดนตรีประกอบ | เซอิจิ โยะโกะฮะมะ |
บริษัทผู้สร้าง | |
ผู้จัดจำหน่าย | โตเอคอมพานี |
วันฉาย | 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 24 มกราคม ค.ศ. 2009 |
ความยาว | 85 นาที |
ประเทศ | ญี่ปุ่น |
ภาษา | ญี่ปุ่น |
ก่อนหน้านี้ | Saint Seiya: Warriors of the Final Holy War |
เซนต์เซย์ย่า ภาคโหมโรงสู่ภาคสวรรค์ (ญี่ปุ่น: 聖闘士星矢 天界編 序奏 〜overture〜; อังกฤษ: Saint Seiya Heaven Chapter: Overture) เป็นภาพยนตร์อนิเมชัน ค.ศ. 2004 ที่ดัดแปลงมาจากอะนิเมะและมังงะซีรีส์เซนต์เซย์ย่า กำกับโดย ชิเงยาสุ ยามาอุจิ เขียนบทโดย มิชิโกะ โยโกเตะ และ อากาสุกิ ยามาโทยะ ภาพยนตร์ชุดนี้เปิดตัวครั้งแรกในโรงภาพยนตร์ของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004
โครงเรื่อง
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตัวละครใหม่
- อาร์เทมิส (アルテミス)
- พากย์โดย: ยูกิระ ฮิโนะ
- อพอลโล (アポロン)
- พากย์โดย: คาสุฮิโระ ยามะจิ
แองเจิ้ล
เหล่าแองเจิ้ล (天闘士) ต่างได้รับเลือก
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
- อิคารอส (イカロス)
- พากย์โดย: ฮิคารุ มิโดริคาวะ
- โอดิซุส (オデュッセウス)
- พากย์โดย: ฮิโรกิ ทาคาฮาชิ
- เธเซอุส (テセウス)
- พากย์โดย: โทะชิยุกิ โมะริกะวะ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
- Saint Seiya Heaven Chapter: Overture ที่อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส
- B20180/กระบะทราย 2 (อนิเมะ) ที่เครือข่ายข่าวอนิเมะ
{{เซนต์เซย์ย่า}}
หมวดหมู่:อะนิเมะที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2547
หมวดหมู่:การ์ตูนญี่ปุ่นแนวเซเน็น
{{โครงการ์ตูน}}
en:Saint Seiya Heaven Chapter: Overture
es:Saint Seiya Tenkai-hen ~Overture~
pl:Saint Seiya: Niebiański Rozdział – Uwertura
มหาวิทยาลัยออสโล
ฮวาง อินซิก
ฮวาง อินซิก | |
---|---|
ไฟล์:ฮวาง อินซิก.jpg | |
สารนิเทศภูมิหลัง | |
เกิด | 13 กันยายน พ.ศ. 2483 |
อาชีพ | นักแสดง |
ฮวาง อินซิก (เกาหลี: 황인식; อังกฤษ: Hwang In-Shik)
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
- Hwang In-Shik's website
- World Hapkido Association
- Hwang In-Shik's role in the WHA
- Link to dojang info
- Seminar with Hwang In-Shik
- Film information
- Filmography (incomplete) at the Internet Movie Database
{{lifetime}}
จี ฮันแจ
จี ฮันแจ | |
---|---|
สารนิเทศภูมิหลัง | |
เกิด | ค.ศ. 1936 (อายุ 87–88 ปี) อันดง จังหวัดคย็องซังเหนือ ประเทศเกาหลีใต้ |
อาชีพ | นักแสดง |
จี ฮันแจ (เกาหลี: 지한재; อังกฤษ: Ji Han-Jae)
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
{{lifetime}}
ชาวบราซิล
ชาวบราซิล (โปรตุเกส: Brasileiros; อังกฤษ: Brazilian people) หมายรวมถึงผู้คนทั้งหมดที่เกิดในประเทศบราซิล และชาวบราซิลยังรวมถึงบุคคลที่เกิดในต่างประเทศโดยมีพ่อแม่เป็นชาวบราซิล หรือชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศบราซิลจนได้รับสิทธิการเป็นพลเมืองของประเทศบราซิล
ชาวบราซิล
ตามรัฐธรรมนูญแห่งประเทศบราซิล ระบุว่าชาวบราซิลคือ:
- ทุกคนที่เกิดในประเทศบราซิลส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
ตามรัฐธรรมนูญ ประชาชนทุกคนที่ถือสัญชาติของประเทศบราซิลต่างมีสิทธิเท่าเทียมกัน โดยมิคำนึงถึงเผ่าพันธุ์, เชื้อชาติ, เพศ หรือศาสนา[17]
อ้างอิง
- ↑ "Censo aponta 190,7 milhões de brasileiros em 2010". G1. สืบค้นเมื่อ 2010-11-29.
- ↑ "As situation remains tense in Paraguay, Brazilian official calls on Congress to help Brasiguaios". Agência Brasil (Priscilla Mazenotti). สืบค้นเมื่อ 2012-03-12.
- ↑ "Detailed Tables – American FactFinder". Factfinder.census.gov. สืบค้นเมื่อ 2011-12-29.
- ↑ 平成19年末現在における外国人登録者統計について. moj.go.jp
- ↑ G1 > Mundo – NOTÍCIAS – Brasileiros tentam a sorte na Guiana Francesa. G1.globo.com. Retrieved on 2012-05-19.
- ↑ Agnieszka Kubal, Oliver Bakewell and Hein de Haas (International Migration Institute, University of Oxford) The Evolution of Brazilian Migration to the UK. Scoping Study Report (January 2011)
- ↑ "Imigração Brasileira em Portugal". Lusotopia (Carlos Fontes). สืบค้นเมื่อ 2011-12-03. (โปรตุเกส)
- ↑ Angola, Brazil: A culture shock divide · Global Voices. Globalvoicesonline.org (2012-05-15). Retrieved on 2012-05-19.
- ↑ Swapping Caipirinhas for Currywurst: Immigration from Brazil to Germany Is on the Rise. Spiegel.de (2005-09-09). Retrieved on 2012-05-19.
- ↑ Guyana: Caught in Brazil's Net?; Small Nation, New to Free Markets, Fears Loss of Its Identity – New York Times. Nytimes.com (2000-03-30). Retrieved on 2012-05-19.
- ↑ "Brasileiros na Suíça buscam melhor organização". Swissinfo.ch (Swiss Broadcasting Corporation). สืบค้นเมื่อ 2008-01-21. (โปรตุเกส)
- ↑ Población extranjera empadronada en el país por lugar de nacimiento, según sexo y grupos de edad. Año 2001. indec.mecon.ar
- ↑ Avance del Padrón Municipal a 1 de enero de 2008. Datos provisionales. INE.es (2008-01-28) . Retrieved on 2012-05-19.
- ↑ [1].
- ↑ "CBS Statline". Centraal Bureau voor de Statistiek. สืบค้นเมื่อ 2009-11-27.
- ↑ Fuente: Instituto Nacional de Estadística. Revisión del Padrón municipal 2001. Población extranjera por sexo, país de nacionalidad y edad.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อautogenerated1
แหล่งข้อมูลอื่น
- Lusotopia (โปรตุเกส)