ข้ามไปเนื้อหา

เตียวอี้ (จาง อี้)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เตียวอี้ (จาง อี้)
張裔
ขุนพลผู้ช่วยเหลือฮั่น (輔漢將軍 ฝู่ฮั่นเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 229 (229) – ค.ศ. 230 (230)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
หัวหน้าเลขานุการของอัครมหาเสนาบดี
(丞相長史 เฉิงเซี่ยงจ๋างฉื่อ)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 228 (228) – ค.ศ. 230 (230)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
หัวหน้ารัฐบาลจูกัดเหลียง
นายกองพลเกาทัณฑ์ฝึกหัด
(射聲校尉 เช่อเชิงเซี่ยวเว่ย์)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 228 (228) – ค.ศ. 230 (230)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
หัวหน้ารัฐบาลจูกัดเหลียง
เจ้าเมืองเอ๊กจิ๋ว (益州太守 อี้โจฺวไท่โฉฺ่ว)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 223 (223) – ค.ศ. 228 (228)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
หัวหน้ารัฐบาลจูกัดเหลียง
เจ้าเมืองปากุ๋น (巴郡太守 ปาจฺวิ้นไท่โฉฺ่ว)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 214 (214) – ค.ศ. ? (?)
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดป. ค.ศ. 166[a]
นครเฉิงตู มณฑลเสฉวน
เสียชีวิตค.ศ. 230 (64 ปี)[a]
บุตร
  • จาง มู่
  • จาง ยฺวี่
อาชีพขุนนาง
ชื่อรองจฺวินซื่อ (君嗣)

เตียวอี้[b] หรือ เตียวฮี[c] (ป. ค.ศ. 166 – 230)[a] มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า จาง อี้ (จีน: 張裔; พินอิน: Zhāng Yì) ชื่อรอง จฺวินซื่อ (จีน: 君嗣; พินอิน: Jūnsì) เป็นขุนนางของรัฐจ๊กก๊กในยุคสามก๊กของจีน

รับราชการในมณฑลเอ๊กจิ๋ว

[แก้]

ในฐานะนักโทษของง่อก๊ก

[แก้]

รับราชการในสำนักอัครมหาเสนาบดี

[แก้]

คำวิจารณ์

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 จดหมายเหตุสามก๊กระบุว่าเมื่อเตียวอี้สนทนากับซุนกวนก่อนได้รับการปล่อยตัวว่า "เมื่อข้าพเจ้าอายุ 58 ปี (ตามการนับอายุแบบเอเชียตะวันออก) ก็อายุยืนกว่าบิดามารดาแล้ว" คำพูดนี้บอกเป็นนัย (แต่ก็ไม่ได้ระบุตรง ๆ) ว่าเตียวอี้อายุ 57 ปีในเวลาที่ซุนกวนปล่อยตัว ซึ่งอาจจะเป็นปี ค.ศ. 223 เพราะเป็นปีที่เตงจี๋เข้าพบซุนกวนตามที่ระบุในจือจื้อทงเจี้ยนเล่มที่ 70
  2. ชื่อที่ปรากฏในสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ตอนที่ 63[1]
  3. ชื่อที่ปรากฏในสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ตอนที่ 70[2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ("ขงเบ้งได้ฟังดังนั้นก็ดีใจ จึงลุกขึ้นขมีขมันออกไป เอามือเคาะลับแลเข้าเรียกขุนนาง ออกชื่อเคาเจ้งบิต๊กเซียงกีเล่าเป๋าเตียเจ้โจเตาเขงเตียวซ้องเลียวต๋งห้องกวนโหเจ้งอินเบกอินซุนเจียวจิ๋วเตียวอี้อองเมาอิเจี้ยจิมปักเปนขุนนางผู้ใหญ่ตามเสด็จไปคอยฟังอยู่ข้างนอกนั้นให้เข้าไปข้างใน") "สามก๊ก ตอนที่ ๖๓". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ August 10, 2023.
  2. ("เจาจิ๋วก็ห้ามปรามเปนหลายครั้ง ขงเบ้งก็มิได้ฟัง จึงสั่งให้ กุยฮิวจี๋ บิฮุย ตันอุ๋น เฮียงทง ตันจีน เจียวอ้วน เตียวฮี เตาเขง โตบี เอียวฮอง เบงก๋อง ไลบิน อินเบด ลิจวน ฮุยสี เจาจิ๋ว กับขุนนางผู้ใหญ่ร้อยเศษ คุมทหารอยู่รักษาเมืองเสฉวน") "สามก๊ก ตอนที่ ๗๐". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ August 10, 2023.

บรรณานุกรม

[แก้]