ผู้สำเร็จราชการไต้หวัน
หน้าตา
ผู้สำเร็จราชการไต้หวัน | |
---|---|
臺灣總督 | |
ตราประทับประจำผู้สำเร็จราชการไต้หวัน | |
รัฐบาลไต้หวัน | |
รายงานต่อ | นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น |
จวน | ทำเนียบผู้สำเร็จราชการไต้หวัน |
ที่ว่าการ | สำนักงานผู้สำเร็จราชการไต้หวัน ไทโฮกุ ไต้หวัน |
ผู้แต่งตั้ง | จักรพรรดิญี่ปุ่น |
ตำแหน่งก่อนหน้า | ประธานาธิบดีฟอร์โมซา |
สถาปนา | 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1895 |
คนแรก | คาบายามะ ซูเกโนริ |
คนสุดท้าย | ริกิจิ อันโด |
ยกเลิก | 25 ตุลาคม ค.ศ. 1945 |
ผู้สำเร็จราชการไต้หวัน (อังกฤษ: Governor-General of Taiwan; ญี่ปุ่น: 臺灣總督, อักษรโรมัน: Taiwan Sōtoku) เป็นหัวหน้าผู้สำเร็จราชการไต้หวันในยุคญี่ปุ่น (รวมฟอร์โมซาและเพสคาดอร์เรส) เมื่อยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิญี่ปุ่นระหว่าง ค.ศ. 1895 ถึง 1945
ผู้สำเร็จราชการไต้หวันของญี่ปุ่นเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ข้าราชการพลเรือน ขุนนางหรือนายพลญี่ปุ่น พวกเขาใช้อำนาจของตนในนามองค์อธิปัตย์ไต้หวัน (จักรพรรดิญี่ปุ่น) จนกระทั่งจักรวรรดิล่มสลาย และอยู่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐจีน แล้วญี่ปุ่นสละอำนาจ[1]
ผู้สำเร็จราชการไต้หวัน (1895–1945)
[แก้]กองทัพ ริกเก็งเซยูไก เค็นเซไก ริกเก็งมินเซโต
ลำดับ | ภาพ | ชื่อ | ภูมิลำเนา | อาชีพ | สังกัด | สมัย | จักรพรรดิ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | คาบายามะ ซูเกโนริ 樺山資紀 |
คาโงชิมะ | พลเรือเอก (กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น) (ไวเคานต์) | กองทัพ | 10 พฤษภาคม 1895 | 2 มิถุนายน 1896 | เมจิ | |
2 | คัตสึระ ทาโร 桂太郎 |
ยามางูจิ | พลโท (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) (ไวเคานต์) | กองทัพ | 2 มิถุนายน 1896 | 14 ตุลาคม 1896 | ||
3 | โนงิ มาเรซูเกะ 乃木希典 |
ยามางูจิ | พลโท (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) (บารอน) | กองทัพ | 14 ตุลาคม 1896 | 26 กุมภาพันธ์ 1898 | ||
4 | โคดามะ เก็นตาโร 兒玉源太郎 |
ยามางูจิ | พลโท (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) (บารอน) | กองทัพ | 26 กุมภาพันธ์ 1898 | 11 เมษายน 1906 | ||
5 | ซากูมะ ซามาตะ 佐久間左馬太 |
ยามางูจิ | พลเอก (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) (ไวเคานต์) | กองทัพ | 11 เมษายน 1906 | 1 พฤษภาคม 1915 | ||
ไทโช | ||||||||
6 | อันโด เทบิ 安東貞美 |
นางาโนะ | พลเอก (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) (บารอน) | กอองทัพ | 1 พฤษภาคม 1915 | 6 มิถุนายน 1918 | ||
7 | อากาชิ โมโตจิโระ 明石元二郎 |
ฟูกูโอกะ | พลโท (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) | กองทัพ | 6 มิถุนายน 1918 | 24 ตุลาคม 1919 | ||
8 | เด็ง เค็นจิโร 田健治郎 |
เฮียวโงะ | สมาชิกในคณะรัฐมนตรีเทราอูจิ (บารอน) | เซยูไก | 29 ตุลาคม 1919 | 6 กันยายน 1923 | ||
9 | อูจิดะ คากิจิ 內田嘉吉 |
โตเกียว | สมาชิกสภาขุนนาง | เซยูไก | 6 กันยายน 1923 | 1 กันยายน 1924 | ||
10 | อิซาวะ ทากิโอะ 伊澤多喜男 |
นางาโนะ | สมาชิกสภาขุนนาง | เค็นเซไก | 1 กันยายน 1924 | 16 กรกฎาคม 1926 | ||
11 | คามิยามะ มิตสึโนชิง 上山滿之進 |
ยามางูจิ | นักประพันธ์วรรณกรรม | เค็นเซไก | 16 กรกฎาคม 1926 | 16 มิถุนายน 1928 | ||
โชวะ | ||||||||
12 | คาวามูระ ทาเกจิ 川村竹治 |
อากิตะ | สมาชิกสภาขุนนาง | เซยูไก | 16 มิถุนายน 1928 | 30 กรกฎาคม 1929 | ||
13 | อิชิซูกะ เอโซ 石塚英藏 |
ฟูกูชิมะ | สมาชิกสภาขุนนาง | มินเซโต | 30 กรกฎาคม 1929 | 16 มกราคม 1931 | ||
14 | โอตะ มาซาฮิโระ 太田政弘 |
ยามางาตะ | ผู้ว่าการแห่งดินแดนเช่ากวันตง | มินเซโต | 16 มกราคม 1931 | 2 มีนาคม 1932 | ||
15 | มินามิ ฮิโรชิ 南弘 |
โทยามะ | สมาชิกสภาขุนนาง | เซยูไก | 2 มีนาคม 1932 | 26 พฤษภาคม 1932 | ||
16 | นากางาวะ เค็นโซ 中川健蔵 |
นีงาตะ | ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ | มินเซโต | 26 พฤษภาคม 1932 | 2 กันยายน 1936 | ||
17 | โคบายาชิ เซโซ 小林躋造 |
ฮิโรชิมะ | พลเรือเอก (กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น) | กองทัพ | 2 กันยายน 1936 | 27 พฤศจิกายน 1940 | ||
18 | ฮาเซงาวะ คิโยชิ 長谷川清 |
ฟูกูอิ | พลเรือเอก (กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น) | กองทัพ | 27 พฤศจิกายน 1940 | 30 ธันวาคม 1944 | ||
19 | อันโด ริกิจิ 安藤利吉 |
มิยางิ | พลเอก (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) | กองทัพ | 30 ธันวาคม 1944 | 25 ตุลาคม 1945 |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Edward I-te Chen (1970). "Japanese Colonialism in Korea and Formosa: A Comparison of The Systems of Political Control". Harvard Journal of Asiatic Studies. Harvard-Yenching Institute. 30: 126–158. doi:10.2307/2718768. JSTOR 2718768.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ผู้สำเร็จราชการไต้หวัน