ข้ามไปเนื้อหา

อีเอฟแอลคัพ 2022 นัดชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อีเอฟแอลคัพ 2022 นัดชิงชนะเลิศ
รายการอีเอฟแอลคัพ ฤดูกาล 2021–22
หลังต่อเวลาพิเศษ
ลิเวอร์พูลชนะ ลูกโทษ 11–10
วันที่27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 (2022-02-27)
สนามสนามกีฬาเวมบลีย์, ลอนดอน
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
เอดัวร์ แมนดี (เชลซี)[1]
ผู้ตัดสินสจวร์ต แอตต์เวลล์ (วอร์วิคเชอร์)[2]
ผู้ชม88,512 คน[3]
2021
2023

อีเอฟแอลคัพ 2022 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันฟุตบอลของ อีเอฟแอลคัพ ฤดูกาล 2021–22. เป็นการลงเล่นระหว่าง เชลซี และ ลิเวอร์พูล ที่ สนามกีฬาเวมบลีย์ ในกรุงลอนดอน, ประเทศอังกฤษ. ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022.[4]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ

[แก้]

เชลซี

[แก้]
รอบ คู่แข่งขัน สกอร์
3 แอสตันวิลลา (H) 1–1 (4–3 p.)
4 เซาแทมป์ตัน (H) 1–1 (4–3 p.)
QF เบรนต์ฟอร์ด (A) 2–0
SF ทอตนัมฮอตสเปอร์ (H) 2–0
ทอตนัมฮอตสเปอร์ (A) 1–0
สัญลักษณ์: (H) = เหย้า; (A) = เยือน

เชลซี, ในฐานะทีมจาก พรีเมียร์ลีก มีส่วนร่วมใน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22, เริ่มต้นการแข่งขันในรอบสาม. พวกเขานัดแรกพบกับทีมร่วมพรีเมียร์ลีก แอสตันวิลลา ในเกมเหย้า. ที่ สแตมฟอร์ดบริดจ์, เชลซีเสมอ 1–1 กับหนึ่งประตูจาก รีซ เจมส์ แต่ ก้าวเข้าสู่รอบต่อไปหลังจากเอาชนะไปได้ 4–3 ใน การยิงลูกโทษ.[5] ในรอบต่อมาพวกเขาถูกจับสลากพบกับทีมจากพรีเมียร์ลีก เซาแทมป์ตัน ที่สแตมฟอร์ดบริดจ์. เชลซีเสมออีกครั้ง 1–1 จาก ไค ฮาเวิทซ์ เป็นผู้ทำประตูแต่พวกเขาได้ผ่านเข้ารอบต่อไปโดยการเอาชนะลูกโทษไป 4–3.[6] ในรอบก่อนรองชนะเลิศ, พบกับทีมร่วมพรีเมียร์ลีกและเป็นคู่ปรับใน ดาร์บีลอนดอนตะวันตก เบรนต์ฟอร์ด ในเกมเยือน. ที่ เบรนต์ฟอร์ดคอมมิวนิตีสเตเดียม, เชลซีชนะ 2–0 กับหนึ่ง การเข้าประตูตัวเอง จากผู้เล่นของเบรนต์ฟอร์ด พ็อนตุส ยอนซ็อน และหนึ่งลูกโทษจาก ฌอร์ฌีญู.[7] ในรอบรองชนะเลิศสองเลก, เชลซีจับสลากพบกับทีมจากพรีเมียร์ลีก คู่ปรับร่วมเมืองลอนดอน ทอตนัมฮอตสเปอร์. ในเลกแรกที่สแตมฟอร์ดบริดจ์, เชลซีชนะ 2–0 กับประตูจากฮาแวตซ์และหนึ่งเข้าประตูตัวเองจากนักเตะของทอตนัม เบน เดวีส์.[8] ในเลกสองกลับกันที่ สนามกีฬาทอตนัมฮอตสเปอร์, เชลซีก้าวเข้าสู่รอบริงชนะเลิศด้วยชัยชนะ 1–0 เนื่องจากหนึ่งประตูมาจาก อันโทนีโอ รือดีเกอร์, ส่งผลให้รวมผลสองนัดเอาชนะไปได้ 3–0.[9]

ลิเวอร์พูล

[แก้]
รอบ คู่แข่งขัน สกอร์
3 นอริชซิตี (A) 0–3
4 เพรสตันนอร์ทเอนด์ (A) 0–2
QF เลสเตอร์ซิตี (H) 3–3 (5–4 p.)
SF อาร์เซนอล (H) 0–0
อาร์เซนอล (A) 0–2
สัญลักษณ์: (H) = เหย้า; (A) = เยือน

ลิเวอร์พูลเป็นหนึ่งทีมจาก พรีเมียร์ลีก ที่มีส่วนร่วมใน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22 และเหมือนกับเชลซี, เริ่มต้นการแข่งขันในรอบสาม. พวกเขานัดแรกของการแข่งขันพบกับทีมร่วมพรีเมียร์ลีก นอริช ที่ แคร์โรว์โรด, พวกเขาเอาชนะไปได้ 3–0 กับสองประตูของ ทากูมิ มินามิโนะ และหนึ่งประตูโดย ดีว็อก โอรีกี แค่หลังจากจบครึ่งแรก.[10] ลิเวอร์พูลกำจัด เพรสตันนอร์ทเอนด์ 2-0 ในรอบที่สี่, ต่อด้วยการเสมอ 3-3 ในนัดที่พบกับ เลสเตอร์ซิตี ในรอบก่อนรองชนะเลิศ ว่าลิเวอร์พูลชนะ 5-4 จากการดวลจุดโทษ. หลังจากทำประตูได้ในเลกแรกที่ แอนฟีลด์, ดีโยกู ฌอตา ทำคนเดียวสองประตูในเกมเยือน 2–0 ชัยชนะเหนืออาร์เซนอลในเลกที่สองของรอบรองชนะเลิศเพื่อส่งให้ลิเวอร์พูลเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศ.[11]

เหตุการณ์ก่อนการแข่งขัน

[แก้]

นี่เป็นรอบชิงชนะเลิศลีกคัพครั้งที่เก้าของเชลซี.[12]มันยังหมายความว่าผู้จัดการทีมของพวกเขา โทมัส ทุคเคิล ได้นำพาพวกเขาไปสู่รอบชิงชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก, เอฟเอคัพ และอีเอฟแอลคัพ ภายในหนึ่งปีที่ได้รับการแต่งตั้ง.[13]

แมตช์

[แก้]

รายละเอียด

[แก้]
เชลซี
ลิเวอร์พูล
GK 16 เซเนกัล เอดัวร์ แมนดี Substituted off in the 120th นาที 120'
CB 14 อังกฤษ เทรโวห์ ชาโลบาห์
CB 6 บราซิล ชียากู ซิลวา
CB 2 เยอรมนี อันโทนีโอ รือดีเกอร์
RM 28 สเปน เซซาร์ อัซปิลิกูเอตา (กัปตัน) Substituted off in the 57th นาที 57'
CM 7 ฝรั่งเศส อึงโกโล ก็องเต โดนใบเหลือง ใน 99th นาที 99'
CM 8 โครเอเชีย มาเตออ กอวาชิช โดนใบเหลือง ใน 90th นาที 90' Substituted off in the 106th นาที 106'
LM 3 สเปน มาร์โกส อาลอนโซ
AM 19 อังกฤษ เมสัน เมานต์ Substituted off in the 74th นาที 74'
AM 10 สหรัฐ คริสเตียน พูลิซิช Substituted off in the 74th นาที 74'
CF 29 เยอรมนี ไค ฮาเวิทซ์ โดนใบเหลือง ใน 105+2nd นาที 105+2'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 1 สเปน เกปา อาร์ริซาบาลากา Substituted on in the 120th minute 120'
DF 24 อังกฤษ รีซ เจมส์ Substituted on in the 57th minute 57'
DF 31 ฝรั่งเศส มาล็อง ซาร์
MF 5 อิตาลี ฌอร์ฌีญู Substituted on in the 106th minute 106'
MF 12 อังกฤษ รูเบน ลอฟตัส-ชีก
MF 17 สเปน ซาอุล ญิเกซ
MF 20 อังกฤษ แคลลัม ฮัดสัน-โอดอย
FW 9 เบลเยียม โรเมลู ลูกากู Substituted on in the 74th minute 74'
FW 11 เยอรมนี ทีโม แวร์เนอร์ Substituted on in the 74th minute 74'
ผู้จัดการทีม:
เยอรมนี โทมัส ทุคเคิล
GK 62 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ คีวีน เคลลิเฮอร์
RB 66 อังกฤษ เทรนต์ อเล็กซานเดอร์-อาร์โนลด์ โดนใบเหลือง ใน 105+2nd นาที 105+2'
CB 32 แคเมอรูน ฌอแอล มาติป Substituted off in the 91st นาที 91'
CB 4 เนเธอร์แลนด์ เฟอร์จิล ฟัน ไดก์
LB 26 สกอตแลนด์ แอนดรูว์ รอเบิร์ตสัน
CM 14 อังกฤษ จอร์แดน เฮนเดอร์สัน (กัปตัน) Substituted off in the 79th นาที 79'
CM 3 บราซิล ฟาบิญญู
CM 8 กินี นาบี เกอีตา Substituted off in the 80th นาที 80'
RF 11 อียิปต์ มุฮัมมัด เศาะลาห์
CF 10 เซเนกัล ซาดีโย มาเน Substituted off in the 80th นาที 80'
LF 23 โคลอมเบีย ลุยส์ ดิอัซ Substituted off in the 97th นาที 97'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 1 บราซิล อาลีซง
DF 5 ฝรั่งเศส อีบราอีมา โกนาเต Substituted on in the 91st minute 91'
DF 21 กรีซ กอสตัส ซีมีกัส
MF 7 อังกฤษ เจมส์ มิลเนอร์ Substituted on in the 80th minute 80'
MF 15 อังกฤษ อเล็กซ์ ออกซ์เลด-เชมเบอร์ลิน
MF 67 อังกฤษ ฮาวี เอลเลียต Substituted on in the 79th minute 79'
FW 18 ญี่ปุ่น ทากูมิ มินามิโนะ
FW 20 โปรตุเกส ดีโยกู ฌอตา Substituted on in the 80th minute 80'
FW 27 เบลเยียม ดีว็อก โอรีกี Substituted on in the 97th minute 97'
ผู้จัดการทีม:
เยอรมนี เยือร์เกิน คล็อพ

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
เฟอร์จิล ฟัน ไดก์ (ลิเวอร์พูล)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
แดน คุก (แมนเชสเตอร์)
แดเนียล โรบาทัน (นอร์โฟล์ก)
ผู้ตัดสินที่สี่:[2]
แอนดรูว์ แมดลีย์ (ฮัดเดอส์ฟีลด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:[2]
ทิม วุด (กลูเชสเตอร์เชอร์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
แดร์เรน อิงแลนด์ (ดองคัสเตอร์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินจากการใช้วิดีโอช่วยตัดสิน:[2]
ไซมอน เบนเนตต์ (สแตฟฟอร์ดเชอร์)

กฏ-กติกา[14]

  • 90 นาที
  • 30 นาทีของ ต่อเวลาพิเศษ ในกรณีที่จำเป็น
  • ดวลลูกโทษ ถ้าผลการแข่งขันยังคงเท่ากัน
  • มีรายชื่อผู้เล่นสำรองได้ถึง 9 คน
  • เปลี่ยนตัวผู้เล่นได้สูงสุดถึง 5 คน, กับการเปลี่ยนตัวคนที่หกได้รับอนุญาตในช่วงต่อเวลาพิเศษ[note 1]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. แต่ละทีมมีโอกาสเปลี่ยนตัวได้เพียง 3 ครั้ง, กับโอกาสที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ, ไม่นับรวมในช่วงการเปลี่ยนตัวผู้เล่นที่ช่วงพักครึ่งเวลาแรก, ก่อนจะเริ่มของช่วงการต่อเวลาพิเศษและช่วงพักครึ่งแรกในการต่อเวลาพิเศษ.

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "Result: Chelsea 0-0 Liverpool (10-11 on penalties) - highlights, man of the match, stats". www.sportsmole.co.uk. 27 February 2022. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Carabao Cup Final match officials". EFL.com. English Football League. 14 February 2022. สืบค้นเมื่อ 16 February 2022.
  3. 3.0 3.1 "Liverpool win the Carabao Cup 2022!". English Football League. 27 February 2022. สืบค้นเมื่อ 27 February 2022.
  4. "Season 2021/22 start date confirmed for Sky Bet EFL". www.efl.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 27 October 2021.
  5. "Chelsea 1–1 Aston Villa (4–3 on pens): Blues win shootout to reach Carabao Cup last 16". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 2022-01-12.
  6. "Chelsea 1–1 Southampton (4–3 pens): Chelsea edge Southampton to reach Carabao Cup quarter-finals". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 2022-01-12.
  7. "Brentford 0–2 Chelsea: Blues overcome neighbours to reach Carabao Cup semis". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 2022-01-12.
  8. "Chelsea 2-0 Tottenham Hotspur: Blues win Carabao Cup semi-final first leg -". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 2022-01-12.
  9. "Chelsea beat Spurs to reach EFL Cup final". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 13 January 2022.
  10. "Minamino double as Liverpool progress". BBC Sport. 21 September 2021. สืบค้นเมื่อ 21 January 2022.
  11. "Diogo Jota's double over Arsenal sends Liverpool to Carabao Cup final". Liverpool F.C. 20 December 2021. สืบค้นเมื่อ 21 December 2021.
  12. "Chelsea see off Tottenham to set up Carabao Cup final against Arsenal or Liverpool". Metro. 2017-03-24. สืบค้นเมื่อ 2022-01-14.
  13. Bonn, Kyle. "Tottenham vs. Chelsea result: Rudiger header sends Blues to Carabao Cup final, shoving Spurs aside in EFL Cup semifinals". Sporting News. สืบค้นเมื่อ 2022-01-14.
  14. "Regulations". EFL.com. English Football League. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 January 2022. สืบค้นเมื่อ 13 January 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]